***วัตถุมงคลหลวงพ่อไพบูลย์ วัดอนาลโย ดอยมังกร-ครูบาวงค์ และเกจิอาจารย์ทั่วไทย

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย siwa1968, 24 สิงหาคม 2010.

  1. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    อรหันต์สายบุญญฤทธิ์ ศิษย์พระอาจารย์มั่น อีกรูปหนึ่งที่มีศิษย์ทั่วประเทศ รุ่นนี้สร้างทูลเกล้าเพื่อแจกทหาร

    เหรียญอาจารย์จวนรุ่นทูลเกล้า บูชา 550 บาทปิด
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • GEDC0628.jpg
      GEDC0628.jpg
      ขนาดไฟล์:
      196.6 KB
      เปิดดู:
      147
    • GEDC0629.jpg
      GEDC0629.jpg
      ขนาดไฟล์:
      181.3 KB
      เปิดดู:
      65
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กันยายน 2010
  2. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    ถ่ายจากหนังสือภาพไม่ค่อยชัด.
    ภาพไฟในบาตร.ในหนังสือบอกว่า ปกติบรรดาศิษย์จะแอบถ่ายรูปครูบาอาจารย์ในอิริยาบถ"ตามสบาย"ต่างๆกัน ภาพนี้ผู้ถ่ายแอบถ่ายเมื่อท่านอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ ฉันอาหารเสร็จแล้วกำลังล้างปาก บาตรที่ว่างอยู่ตรงหน้าท่าน ว่างเปล่าได้เท"ข้าวก้นบาตร"ออกหมดแล้ว ผู้ถ่ายก็ดีผู้นั่งอยู่ตรงหน้าซึ่งมีอยู่ประมาณ๑๐กว่าคนก็ดี รวมทั้งท่านพระครู(องศ์ซ้ายมือ)ไม่เห็นไฟหรือเปลวไฟอะไรเลย แต่เมื่อล้างฟิล์ม อัดภาพแล้วจึงได้เห็น "ไฟในบาตร" ปรากฎขึ้น แสง"ไฟในบาตร" นั้นจับหน้าท่านและขอบบาตรจนเป็นสีเข็ม และสท้อนมาสู่พื้นศาลาด้านหน้าบาตรด้วย.
    ผู้ถ่ายภาพ.อัจฉรียา ชาลีจันทร์
    เมื่อ.๕ พฤษาภาคม ๒๕๒๑
    ที่มา.จากหนังสือ มาตาบูชา โดย.สุรีพันธุ์ มณีวัต (ชาลีจันทร์)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เหรียญสะสม เหรียญที่ระลึกครองราช หลังเขาชีจันทร์ เหรียญละ 250 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • GEDC0206.jpg
      GEDC0206.jpg
      ขนาดไฟล์:
      195.8 KB
      เปิดดู:
      68
    • GEDC0205.jpg
      GEDC0205.jpg
      ขนาดไฟล์:
      192.7 KB
      เปิดดู:
      62
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 กันยายน 2010
  4. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เหรียญหลวงพ่อคูณ รุ่น 2 ปี 2514
    บูชา 500 บาทปิด
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • GEDC0620.jpg
      GEDC0620.jpg
      ขนาดไฟล์:
      185.6 KB
      เปิดดู:
      66
    • GEDC0621.jpg
      GEDC0621.jpg
      ขนาดไฟล์:
      188.2 KB
      เปิดดู:
      69
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กันยายน 2010
  5. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    <TABLE class=mxtable border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#ffffff align=center><TBODY><TR><TD class=textBoard height=120 vAlign=top>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ที่วัดอัมพวัน ต.ศาลารีไทย อ.เสาไห้ จ.สระบุรี เมื่อเวลา 13.39 น. วันที่ 19 ธ.ค. พุทธศาสนิกชนนับพันคนได้เข้าร่วมในพิธีเคลื่อนย้ายสังขารของพระอธิการย้อย ปุญญมี หรือหลวงพ่อย้อย อดีตเจ้าอาวาสวัดอัมพวัน และพระเกจิชื่อดังของสระบุรี ซึ่งมรณภาพมาตั้งแต่ปี 2525 จนถึงปัจจุบันล่วงเลยมา 23 ปีแล้ว แต่สังขารของหลวงพ่อย้อยกลับไม่เน่าเปื่อย บรรดาญาติโยมจึงเคลื่อนย้ายสังขารที่บรรจุในโลงแก้วออกจากกุฏิมาตั้งที่วิหารจัตุรมุขที่สร้างขึ้นมาอย่างสวยงาม เพื่อให้ญาติโยมที่เลื่อมใสศรัทธาสามารถเข้ามากราบไหว้ได้สะดวกยิ่งขึ้น[/FONT]

    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]สำหรับประวัติของหลวงพ่อย้อย เกิดเมื่อวันที่ 1 ก.ค. 2435 เริ่มบวชเณรตั้งแต่อายุ 5 ขวบ หลังจากนั้นก็ไม่สึกอีกเลย โดยหลวงพ่อย้อยเป็นพระที่สนใจใฝ่ศึกษาทางธรรมะ และยังเป็นพระนักพัฒนาอีกด้วย ส่วนกิตติศัพท์ที่ทำให้คนทั่วไปรู้จักหลวงพ่อย้อยคือเรื่องวัตถุนิยมของหลวงพ่อย้อยที่เน้นไปทางเมตตา มหานิยม และแคล้วคลาด โดยเฉพาะตะกรุดได้รับความนิยมกันมาก จนกระทั่งปี 2525 หลวงพ่อย้อยเกิดล้มป่วยด้วยโรคหัวใจ จึงถูกส่งไปรักษาตัวที่รพ.ศิริราช แต่ในที่สุดก็มรณภาพลง เมื่ออายุ 93 ปี.[/FONT]
    [​IMG]
    (คลิ๊กที่โลโก้ข่าวเพื่ออ่านต้นฉบับ)
    ข้อมูลข่าวจาก เดลินิวส
    หลวงพ่อย้อย วัดอัมพวัน เสาให้ จ.สระบุรี

    สระบุรี ช่วงนี้ ท่านมาแรงจริงๆ คนถามหากันเยอะ

    เหรียญ 7 รอบ ให้ลาภ คุ้มภัย (เหรียญไข่ใหญ่)

    สร้างปี พ.ศ.2517

    <!--detail-->

    </TD><TD rowSpan=3 width=18></TD></TR></TBODY></TABLE>
    เหรียญหลวงพ่อย้อย วัดอัมพวันสระบุรี บูชา 650 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • GEDC0633.jpg
      GEDC0633.jpg
      ขนาดไฟล์:
      182.1 KB
      เปิดดู:
      86
    • GEDC0634.jpg
      GEDC0634.jpg
      ขนาดไฟล์:
      187.9 KB
      เปิดดู:
      83
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 สิงหาคม 2010
  6. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    วัดต้นสน
    ต.ตลาดหลวง อ.เมือง จ.อ่างทอง 14000
    โทรศัพท์ 035-611-198, 035-611-905

    พระวิสิฐคณาภรณ์ (ประถม ป.ธ.4)
    เจ้าอาวาสวัดต้นสน และรองเจ้าคณะจังหวัดอ่างทอง

    อยู่ริมฝั่งฟากตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา อยู่ในเขตเทศบาลเมืองอ่างทอง ตรงข้ามกับวิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง ห่างจากศาลากลางจังหวัดประมาณ ๒ กม. เป็นวัดเก่าแก่โบราณ ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางสะดุ้งมาร พระนามว่า สมเด็จพระพุทธนวโลกุตตรธัมมบดีศรีเมืองทอง หรือเรียกชื่อย่อว่า “สมเด็จพระศรีเมืองทอง” ขนาดหน้าตักกว้าง ๖ วา ๓ ศอก ๙ นิ้ว สูง ๙ วา ๑ ศอก ๑๙ นิ้ว หล่อด้วยโลหะทั้งองค์ลงรักปิดทอง พระราชสุวรรณโมลี เจ้าอาวาสวัดต้นสนเดิม เริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๖ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ทรงประกอบพิธีสวมเกตุสมเด็จพระศรีเมืองทอง เมื่อวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๒๘ นับเป็นพระพุทธรูปหล่อด้วยโลหะขนาดใหญ่ที่สุดองค์แรก และมีพุทธลักษณะที่สวยงามมากอีกองค์หนึ่ง นอกจากนี้ยังมีวังปลาที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งอีกด้วย

    วัดต้นสน เป็นวัดหนึ่งที่เข้าร่วมโครงการปฏิบัติธรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ
    ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามแนวนโยบายของสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
    เหรียญสมเด็จพระศรีเมืองทอง หลังสมเด็จโต วัดต้นสน บูชา 350 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • GEDC0630.jpg
      GEDC0630.jpg
      ขนาดไฟล์:
      179.4 KB
      เปิดดู:
      77
    • GEDC0632.jpg
      GEDC0632.jpg
      ขนาดไฟล์:
      181.7 KB
      เปิดดู:
      74
    • DSC-4191-2.jpg
      DSC-4191-2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      68.3 KB
      เปิดดู:
      85
    • DSC-4192.jpg
      DSC-4192.jpg
      ขนาดไฟล์:
      82 KB
      เปิดดู:
      86
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 สิงหาคม 2010
  7. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    <CENTER>[SIZE=+2]จอมทัพธรรมแห่งรัตนโกสินทร์ ต้นแบบพระแท้แห่งพุทธกาล ผู้ถักทอเครือข่ายพระป่าให้ครอบคลุมทั่วหล้า[/SIZE]
    [SIZE=+2]ผู้เป็นแบบอย่างในการรักษาสิกขาบทชนิดเอาชีวิตเข้าเข้าแลก ผู้อิ่มบารมีธรรมอย่างเอกอุ[/SIZE]
    [SIZE=+2]ผู้เป็นแสงอาทิตย์ฉายกล้าไปทั่วอาณาเขตพุทธแดนไทย ให้ลูกหลานสืบทอดผ่านกาลสมัยรุ่นแล้วรุ่นเล่า [/SIZE]


    [SIZE=+2]" พ่อแม่ครูบาอาจารย์มั่น "[/SIZE] </CENTER><CENTER>ถ้ำสาริกา ตั้งอยู่บนภูเขาลูกเล็กๆ ภายในวัดถ้ำสาริกา อ.เมือง จ.นครนายก ตั้งอยู่บนเส้นทางที่มุ่งสู่น้ำตกสาริกา โดยอยู่ก่อนถึงน้ำตกสาริกาประมาณ 3 กิโลเมตร มีลักษณะเป็นเพิงหินเล็กๆ ภายใต้ก้อนหินขนาดใหญ่ลึกเข้าไปในหินประมาณ 3 เมตรไม่มีหินงอกหินย้อยด้านในถ้ำประดิษฐานรูปหล่อหลวงปู่มั่น ขนาดเล็กกว่าองค์จริงเล็กน้อย ด้านบนหินมีต้นไทรต้นใหญ่แผร่รากคอบคลุมหินก้อนนี้อยู่ ปัจจุบันทางวัดได้สร้างศาลาคอนกรีตถาวร คลุมบริเวณหน้าถ้ำไว้ เพื่อสะดวกในการมาสักการะและปฏิบัติธรรมร่มเย็นดีมาก [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ภายในบริเวณวัดเป็นภูเขา ลักษณะสภาพป่าเขาและตบแต่งภูมิทัศน์ได้อย่างเป็นธรรมชาติ มีกุฏิหลังน้อยๆ ซ้อนตัวกลมกลืนกับธรรมชาติอยู่หลายหลัง เหมาะสำหรับการปฏิบัติธรรมเป็นอย่างยิ่ง ก่อนที่จะถึงถ้ำสาริกาจะเป็นมณฑป และเรือนพระธาตุ ภายในมณฑปประดิษฐานรูปหล่อยืนหลวงปู่มั่นขนาดใหญ่ ส่วนเรือนพระธาตุจัดแสดงพระบรมสารีริกธาตุและพระธาตุพระอรหันต์และยังมีอุโบสถขนาดเล็ก อยู่บนยอดเขาอีกด้วย [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]สำหรับความสำคัญของถ้ำนี้ปรากฏในประวัติหลวงปู่มั่น จากสำนวนหลายครูบาอาจารย์เป็นดังนี้คือ ประมาณปี 2450 - 2453 ท่านได้จาริกไปทางจังหวัดลพบุรี ไปพักอยู่ที่เขาพระงามบ้าง ถ้ำสิงโตบ้าง ต่อมา ท่านได้ไปพักอยู่ที่ถ้ำสาริกานี่เอง ท่านได้ประสบเหตุการณ์ต่าง หลายประการ และเป็นที่ติดใจท่านมาตลอด คือ ขณะที่ท่านไปถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่ง ซึ่งอยู่ใกล้กับถ้ำมากกว่าหมู่บ้านอื่น ๆ ท่านวานให้ชาวบ้านพาไปส่งที่ถ้ำดักล่าว เพราะไม่รู้จักทาง ชาวบ้านเล่าเรื่องราวต่าง ๆ เกี่ยวกับถ้ำนั้นให้ฟัง พร้อมกับนิมนต์ให้เลิกล้มความต้องใจที่จะไปถ้ำนั้นเสีย แต่ท่านบอกว่า ท่านไม่กลัว ท่านทดลองพักดู ขณะที่พักที่ถ้ำสาริกาแห่งนี้ในระยะเดือนแรกๆ ท่านรู้สึกปรกติดี จิตใจสงบ ไม่มีอะไรพลุกพล่าน พอดีคืนต่อๆมา ท่านรู้สึกว่าโรคเจ็บท้องที่เคยเป็นประจำชักกำเริบ และมีอาการรุนแรงขึ้นตามลำดับ ท่านได้หวนคิดถึงคำที่ชาวบ้าพูดกันว่า มีพระมาตายที่นี่ 4 รูปแล้ว ท่านจึงคิดว่าท่านอาจเป็นรูปที่ 5 ก็ได้ ถ้าไม่หายจากโรค เมื่อฉันยาแล้ว โรคก็ยังไม่หยุดกำเริบ ในที่สุดท่านตัดสินใจใช้ธรรมโอสถรักษา จะหายก็หายจะตายก็ตาย จากนั้นท่านจึงพิจารณาถึงทุกขเวทนาด้วยปัญญาอย่างไม่หยุดยั้ง จนในที่สุดโรคก็หาย ความฟุ้งซ่านภายในใจก็ดับกลายเป็นความสงบ จิตสว่างออกไปจากร่างกาย ปรากฏเห็นบุรุษคนหนึ่งมีรูปร่างใหญ่โต ถือตะบองเหล็กเดินเข้ามาหาท่าน พูดกับท่านว่าจะตีท่านให้จมลงดิน ถ้าไม่หนีไป ท่านก็ถามไปว่าท่านผิดอะไรถึงจะมาตีท่าน เขาก็บอกว่า เขารักษาภูเขาลูกนี้มานานแล้ว ใครมาใหญ่กว่าเขาเป็นไม่ได้ ท่านก็บอกว่า ท่านเป็นพระมาบำเพ็ญธรรมเพื่อมาปราบกิเลส ไม่ได้มาทำร้ายใครว่าแล้วก็เทศนา สั่งสอนบุรุษลึกลับคนนนั้น จนเกิดความเลื่อมใส ในคืนต่อมา ท่านได้บำเพ็ญสมณธรรมด้วยความสะดวกไม่มีอะไรมารบกวน ร่างกายก็เป็นปรกติสุข หลังจากที่หลวงปู่มั่นได้ธุดงค์จากที่นี่ไป [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]หลังจากหลวงปู่มั่นธุดงค์ไปที่อื่นแล้ว ถ้ำแห่งนี้ก็ได้ร้างลงจนเมื่อประมาณ 30 - 40 ปีมานี้ ท่านพระอาจารย์เจือ กิจจธโรเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ได้สร้างวัดในบริเวณนี้สำหรับปฏิบัติธรรมและศาสนสถานต่างๆ ให้มั่นคงและเป็นที่รุ้จักแพร่หลายมากยิ่งขึ้น วัดแห่งนี้ไม่ไกลจากกรุงเทพมากนัก จัดเป็นศาสนสถานที่สำคัญที่มีความเกี่ยวเนื่องกับหลวงปู่มั่นใกล้กรุงเทพที่สุดแห่งหนึ่ง สะดวกสำหรับการมาเยื่ยมชมและรำลึกถึงการปฏิบัติธรรมอย่างเด็ดเดี่ยวโดยมีชีวิตเข้าแรก ณ สถานที่แห่งนี้[/FONT]
    เหรียญหลวงปู่มั่น วัดถ้ำสาริกาปี 2519 นครนายกและหลวงปู่มั่น ญาณวิเศษ 2 เหรียญบูชา 450 บาท
    </CENTER>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 005.jpg
      005.jpg
      ขนาดไฟล์:
      74.4 KB
      เปิดดู:
      78
    • 022.jpg
      022.jpg
      ขนาดไฟล์:
      87 KB
      เปิดดู:
      101
    • 023.jpg
      023.jpg
      ขนาดไฟล์:
      95.4 KB
      เปิดดู:
      102
    • imageU8Q.jpg
      imageU8Q.jpg
      ขนาดไฟล์:
      21.9 KB
      เปิดดู:
      635
    • GEDC0649.jpg
      GEDC0649.jpg
      ขนาดไฟล์:
      165.6 KB
      เปิดดู:
      72
    • GEDC0650.jpg
      GEDC0650.jpg
      ขนาดไฟล์:
      149.7 KB
      เปิดดู:
      69
    • GEDC0653.jpg
      GEDC0653.jpg
      ขนาดไฟล์:
      189.9 KB
      เปิดดู:
      73
    • GEDC0654.jpg
      GEDC0654.jpg
      ขนาดไฟล์:
      199.4 KB
      เปิดดู:
      64
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 สิงหาคม 2010
  8. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เหรียญ ลพ.จันดี เขมปัญโญ วัดศรีสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร ปี 2533 ลพ.จันดี ท่านเป็นศิษย์สายพระอาจารย์มั่น ชื่อเสียงท่านไม่ค่อยดังในวงการพระเครื่องมากนัก แต่คุณธรรมในองค์ท่านบริสุทธิ์ พระอริยะองค์ วัตถุมงคลที่ระลึกขององค์ท่านไม่ค่อยพบเห็นในวงการ ส่วนใหญ่ลูกศิษย์และคนพื้นที่เก็บครับ บูชา 250 บาทปิด
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • GEDC0661.jpg
      GEDC0661.jpg
      ขนาดไฟล์:
      187.6 KB
      เปิดดู:
      63
    • GEDC0662.jpg
      GEDC0662.jpg
      ขนาดไฟล์:
      184.5 KB
      เปิดดู:
      65
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กันยายน 2010
  9. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • GEDC0689.jpg
      GEDC0689.jpg
      ขนาดไฟล์:
      199.8 KB
      เปิดดู:
      65
    • GEDC0690.jpg
      GEDC0690.jpg
      ขนาดไฟล์:
      171.9 KB
      เปิดดู:
      68
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กันยายน 2010
  10. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    หลวงปู่ขาน

    ประวัติและปฏิปทา
    หลวงปู่ขาน ฐานวโร

    วัดวชิรทรงธรรมพัฒนา (วัดป่าบ้านเหล่า)
    ต.ทุ่งก่อ กิ่ง อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย


    ๏ ชาติกำเนิดและชีวิตปฐมวัย

    หลวงปู่ขาน ฐานวโร มีนามเดิมว่า ทองขาน สุขา เกิดเมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๘ ณ บ้านโนนปอแดง ต.โนนสัง อ.โนนสัง จ.อุดรธานี (ปัจจุบันเป็น จ.หนองบัวลำภู) โยมบิดา-โยมมารดาชื่อ คุณพ่อหนู และคุณแม่ห่อน สุขา มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันทั้งหมด ๑๐ คน ท่านเป็นบุตรคนที่ ๙ ตามลำดับดังนี้

    ๑. พระสอน (มรณภาพแล้ว)
    ๒. นายพร (ถึงแก่กรรมแล้ว)
    ๓. นางสอ (ถึงแก่กรรมแล้ว)
    ๔. นางสังข์ (ถึงแก่กรรมแล้ว)
    ๕. นางวัง (ถึงแก่กรรมแล้ว)
    ๖. นางเวิน (ถึงแก่กรรมแล้ว)
    ๗. นางเหวิ่น (ถึงแก่กรรมแล้ว)
    ๘. นายหว่าน (ถึงแก่กรรมแล้ว)
    ๙. หลวงปู่ขาน ฐานวโร (มรณภาพแล้ว)
    ๑๐. นางก้าน (มารดาของพระอาจารย์เสถียร สมาจาโร)

    ชีวิตช่วงเยาว์วัย เรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ แล้วได้ออกมาช่วยบิดามารดาทำไร่ทำสวน


    ๏ ชีวิตสมณะ การแสวงหาธรรม และปฏิปทา

    ได้บรรพชาเป็นสามเณร เมื่ออายุ ๑๕ ปี ครั้นต่อมาเมื่ออายุครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์ ได้เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมาวัดป่าชะบาวัน บ้านกุดฉิม ต.บ้านค้อ อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๐๐ เวลา ๑๕.๔๓ น. โดยมีพระครูศาสนูปกรณ์ วัดโยธานิมิตร เป็นพระอุปัชฌาย์, หลวงปู่อุ่น ชาคโร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอธิการเพ็ง อิติโสภโณ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า “ฐานวโร” แปลว่า ที่ตั้งอันประเสริฐ

    หลวงปู่ได้พำนักจำพรรษา ณ วัดป่าโคกสำโรง ซึ่งมีหลวงพ่อชม โฆสิโก เป็นเจ้าอาวาส พอออกพรรษาหลวงปู่ขานได้เดินทางปฏิบัติ ธรรมกับหลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกลองเพล ตลอดระยะเวลลาที่อยุ่วัดถ้ำกลองเพล หลวงปู่ได้ปฏิบัติภาวนาอย่างเข้มข้น หลังจากนั้นหลวงปู่ได้จาริกไป ที่ต่างๆ เช่น วัดป่าแก้วชุมพล ปฏิบัติธรรมกับหลวงปู่จวน กุลเชษโฐ ที่ถ้ำจันทร์ หนองคาย

    หลังจากนั้นได้ธุดงไปยังถ้ำพระ ที่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี พบหลวงปู่ลี กุสลธโร ทั้ง ๒ ท่านต่างภาวนาอย่างไม่ลดละต่อกิเลส จนหลวงปู่ขาน ได้พบกับวิมุตติธรรมอันประเสริฐ อันเป็นเครื่องยุติการเดินทางใน ๓ โลกธาตุ หลวงปู่ ได้กลับไปนมัสการพระอาจารย์ท่านต่างๆ และได้พาญาติพี่น้องของท่านอพยพ มาอยู่ที่บ้านเหล่าเชียงราย เนื่องจากบ้านโนนปอแดง อยู่ในพื้นที่สร้างเขื่อนอุบลรัตน์ สำหรับวัดป่าบ้านเหล่าหรือดอยกู่แก้วเคยเป็นวัดในสมัยพระเจ้ากือนา กษัตริย์ อาณาจักรเชียงแสนมาก่อน


    ๏ ปฏิปทา

    หลวงปู่มักจะสอนพระเณรให้รู้จักพึ่งตนเอง มีความอดทน และทำเป็นตัวอย่างมากกว่าสอนด้วยปากเปล่า และหลวงปู่ไม่รับนิมนต์กิจ ที่ไหนไกลจากบ้านเหล่าเลย อีกทั้งท่านยังเป็นพระที่มีขันติธรรม แม้ท่านป่วยก็ไม่บ่น แสดงอาการอ่อนแอให้ใครเห็นเลย


    ๏ การมรณภาพ

    หลวงปู่มรณภาพด้วยอาการไตวายเรื้อรัง เมื่อวันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๙ เวลา ๒๑.๓๔ น. สิริอายุรวม ๗๑ ปี ๑ เดือน ๑๗ วัน พรรษา ๕๐


    ๏ ธรรมโอวาท

    ๑. ไปไหนไม่เท่ากับอยู่วัด อยู่วัดไหนก็ ไม่เท่าอยู่วัดตัวเอง
    ๒. คนมีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ จะได้ไม่นิ่งนอนใจในชีวิต
    ข่าวการมรณภาพของหลวงปู่ขาล ฐานวโร
    หลวงปู่ขาน ฐานวโร ( ศิษย์หลวงปู่มั่น )
    วัดวชิรทรงธรรมพัฒนา(วัดป่าบ้านเหล่า) เชียงราย ละสังขารแล้ว วันที่ 31 ก.ค.2549
    หลวงปู่ขาน ฐานวโร วัดวชิรทรงธรรมพัฒนา (วัดป่าบ้านเหล่า) ต.ทุ่งก่อ อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย
    ละสังขารแล้วที่วัดวชิรทรงธรรมพัฒนา
    เมื่อวันจันทร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 เวลา 21.46 น.
    และจะประชุมเพลิงในวันอาทิตย์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2549 เวลา 15.00 น.
    ณ วัดวชิรทรงธรรมพัฒนา กิ่งอ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย
    หลวงปู่ขาน ฐานวโร” เจ้าอาวาสวัดป่าบ้านเหล่า/เวียงเชียงรุ้ง พระวิปัสสนาชื่อดังของเชียงราย มรณภาพแล้ว สั่งลูกศิษย์อย่าเก็บไว้เกิน 3 วัน ให้จัดแบบเรียบง่าย ไม่ต้องมีสวดอภิธรรม กำหนดถวายเพลิงศพวันอาทิตย์ที่ 6 ส.ค.

    ผู้สื่อข่าวรายงานข่าวจากจังหวัดเชียงราย ว่า หลวงปู่ขาน ฐานวโร เจ้าอาวาสวัดป่าบ้านเหล่า ต.บ้านเหล่า กิ่ง อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย พระนักวิปัสสนากรรมฐาน ที่มีลูกศิษย์ทั่วประเทศ ได้มรณภาพอย่างสงบด้วยโรคไตวาย สิริอายุ 71 ปี 50 พรรษา ซึ่งภายหลังจากมรณภาพลูกศิษย์จากทั่วสารทิศทั้งพระสายวัดป่า และลูกศิษย์ได้เข้ากราบเคารพศพอย่างเนืองแน่น โดยศพตั้งบำเพ็ญกุศล ณ ศาลาหลวงปู่ขาน ฐานวโร ฉลองครบรอบ 61 พรรษา

    พระอาจารย์เลิศ รองเจ้าอาวาสวัดป่าบ้านเหล่า ได้เจริญพร ว่า ก่อนที่หลวงปู่ขานจะมรณภาพ ได้สั่งให้ลูกศิษย์ปฏิบัติต่อร่างของท่านไว้ อาทิ อย่าเก็บศพไว้นานเกิน 3 วัน อย่าเอาศพไปหากิน ให้จัดงานศพแบบเรียบง่าย ไม่เอิกเกริก ไม่มีสวดอภิธรรม ไม่ต้องสวดอกุสลาธรรมา เพราะท่านเองก็สวดได้ และให้เผาร่างท่านด้วยการจัดทำถังสเตนเลส ใช้ถ่านแค่ 2 กระสอบ แต่ที่ได้กำหนดถวายเพลิงศพในวันที่ 6 สิงหาคม 2549 ซึ่งเกินกว่าที่หลวงปู่สั่งไว้ เนื่องจากมีศิษยานุศิษย์ขอไว้ เพื่อให้ผู้ที่มีความเลื่อมใสศรัทธาที่อยู่ต่างจังหวัดได้มีโอกาสกราบไหว้เคารพศพ

    สำหรับหลวงปู่ขาน ฐานวโร เกิดที่ อ.โนนสัง จังหวัดหนองบัวลำภู ภายหลังจากบรรพชาอุปสมบท เป็นพระนิกายธรรมยุต แล้ว ในปี 2512 ได้เดินธุดงค์มาจนถึงจังหวัดเชียงราย ณ ที่ตั้งสำนักวัดป่าบ้านเหล่า จนถึงปัจจุบันรวม 37 ปี หลวงปู่ขาน เป็นพระป่าสายวิปัสสนากรรมฐานอย่างเคร่งครัด จนมีผู้เคารพเลื่อมใสศรัทธาจำนวนมาก
    ทุกวันพระจะมีการอบรมการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานแก่ญาติโยม และก่อนวันพระจะอบรมให้แก่พระภิกษุสงฆ์ มาโดยตลอด ส่วนพิธีถวายเพลิงศพได้จัดขึ้น ภายในบริเวณวัดป่าบ้านเหล่า ในวันอาทิตย์ที่ 6 สิงหาคม 2549 ตั้งแต่เวลา 13.00 น.เป็นต้นไป
    ปฏิปทาหลวงปู่ อาจจะไม่เหมือนครูบาอาจารย์รูปอื่น ๆในหลายๆด้าน เช่น การอบรมสั่งสอนพระภิกษุสามเณร ท่านจะสอนด้วยการปฏิบัติให้ดูมากกว่าสอนโดยตรง เช่น พระภิกษุสามเณรลืมเอากระโถน หรือเอาสิ่งของอื่นๆมาถวาย ท่านจะไม่ใช้ พระภิกษุสามเณร ให้ไปหยิบแต่จะไปหยิบเอง หรือหากจัดของไม่เป็นระเบียบหลวงปู่จะจัดเก็บเอง พอพระเณรเห็นก็จะจัดตามที่ท่านทำให้ดู จะรอให้หลวงปู่สอนโดยตรงนั้นท่านจะไม่บอกไม่ใช้ หลวงปู่ท่านจะปฏิบัติแบบนี้ น้อยนักที่ท่านจะสอนด้วยคำพูดหรือสอนโดยตรง ที่สำคัญหลวงปู่ไม่ยอมให้พระรูปใดสรงน้ำให้เลย ตั้งแต่บวชมา หลวงปู่ให้เหตุผลว่า ท่านยังแข็งแรงยังช่วยตัวเองได้อยู่ และเป็นภาระยุ่งเหยิงไม่เป็นอิสระ ไม่เหมือนอาบเอง จะอาบจะสรงเวลาไหนก็ได้ เหตุนี้ท่านจึงไม่ให้ใครสรงน้ำให้
    หลวงปู่ได้ตั้งสัจจะปณิธานไว้ ๕ ข้อ คือ
    ๑.จะไม่ไปนั่งบ้านโยม ไม่ขึ้นบ้านน้อย บ้านใหญ่
    ๒.ไม่รับนิมนต์นอกเขต(รับเฉพาะหมู่บ้านเหล่า หากท่านไม่ไปงานนิมนต์ ท่านจะให้พระรูปอิ่นไปแทน)
    ๓.จะไม่จับโทรศัพย์ พูดโทรศัพท์
    ๔.ไม่เขียนจดหมายติดต่อกับใคร
    ๕.ไม่ขึ้นเครื่องบิน
    ส่วนข้วัตรปฏิบัติ หลวงปู่จะเคร่งครัดมากไม่เคยขาดปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ เพราะข้อวัตรนั้น คือกิจของพระภิกษุที่พึงกระทำมิให้ขาดตกบกพร่อง
    วัดหลวงปู่ขาน ที่อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย
    ถ้าไม่มีรถส่วนตัวไป เมื่อลงรถทัวร์ หรือรถเมล์ที่สถานีขนส่ง จ.เชียงรายแล้ว ให้เดินไปที่รถ อ.เชียงของ จะอยู่ใกล้ ๆ นั้น รถเมล์คันเล็กที่ไปเชียงของ จะมี 2 สาย คือสายนอก ผ่านอ.เทิง และสายในที่ผ่าน อ.พญาเม็งราย
    ให้จับรถสายใน ถามเขาให้เป็นมั่นเหมาะว่า จะไปบ้านเหล่า
    บ้านเหล่าคือชื่อเก่าของอ.เวียงเชียงรุ้ง เป็นอีกอำเภอหนึ่งที่เติบโตจากบ้านกลายเป็นอำเภอ เพราะพระสุปฏิปันโน

    เมื่อขึ้นรถแล้ว ให้บอกเขาว่าให้จอดตรงตลาดบ้านเหล่า เมื่อลงบ้านเหล่าแล้ว เลี้ยวซ้ายต่อไปอีก หนึ่งกิโล เดินสบาย ๆ จะเห็นยอดสถูป พระธาตุหลวงปู่ขาวชัดเจน
    ชานหมากหลวงปู่ขานบูชา 350 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 สิงหาคม 2010
  11. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    สมเด็จพิมพ์นิยมรุ่น1 หลวงพ่อเงินเด่น วัดขุนทิพย์ อยุธยาปี 35 บูชา 400 บาท
    ***********************************************************************************
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • GEDC0717.jpg
      GEDC0717.jpg
      ขนาดไฟล์:
      191 KB
      เปิดดู:
      74
    • GEDC0718.jpg
      GEDC0718.jpg
      ขนาดไฟล์:
      198.2 KB
      เปิดดู:
      64
    • GEDC0719.jpg
      GEDC0719.jpg
      ขนาดไฟล์:
      175.8 KB
      เปิดดู:
      67
  12. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    ครูบาชุ่ม โพธิโก วัดวังมุย จ.ลำพูน ตะกรุดก่าสะท้อน สุดยอดมนต์วิชาป้องกันคุณไสย์ พรายกินตัว ของต่ำมนต์ดำทุกประเภท... 2500 บาท

    คำว่า ก่าสะท้อน นั้น มาจากคำ 2 คำตามความหมายในคำศัพท์คำเมืองของทางล้านนา ก็คือ คำว่า " ก่า " ที่มาจากคำเต็มว่า " กั้งก่า " ในภาษาล้านนาแปลว่า ปกป้อง,ป้องกันไม่ให้เกิดขึ้น ส่วนคำว่า " สะท้อน " แปลว่า ตีกลับ โต้กลับย้อนคืนไป ผลักออกไป เป็นต้น


    ตะกรุดกาสะท้อนครูบาชุ่ม คุณวิเศษของตะกรุดก๋าสะท้อนนั้น สามารถป้องกันภัยอันตรายต่างๆ อำนาจคุณไสย คุณผี คุณคน และ สามารถสะท้อนอำนาจนั้นกลับไปด้วยตะกรุดก๋าสะท้อน ดอกนี้
    ติดต่อบูชา
    ธนาคารกสิกรไทย สาขาพะเยา ชื่อบ/ช ปริศนา บัวเทศ เลขที่ 209-2-51303-6
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF1547.jpg
      DSCF1547.jpg
      ขนาดไฟล์:
      131.5 KB
      เปิดดู:
      92
    • DSCF1548.jpg
      DSCF1548.jpg
      ขนาดไฟล์:
      140.4 KB
      เปิดดู:
      68
    • DSCF1549.jpg
      DSCF1549.jpg
      ขนาดไฟล์:
      150.6 KB
      เปิดดู:
      86
    • DSCF1550.jpg
      DSCF1550.jpg
      ขนาดไฟล์:
      137.5 KB
      เปิดดู:
      64
    • DSCF1551.jpg
      DSCF1551.jpg
      ขนาดไฟล์:
      154.3 KB
      เปิดดู:
      52
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2010
  13. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เหรียญรุ่น ดวงเศรษฐี หลังท่านท้าวมหาพรหม หลวงพ่อมีวัดมารวิชัย

    ออกเมื่อปี ๒๕๓๕ โดยปกติแค่มีรูปท่านท้าวมหาพรหมเอราวัณ ก็ศักดิ์สิทธิ์มากอยู่แล้ว ยื่งได้หลวงพ่อมี วัดมารวิชัยปลุกเสกให้อีก ยิ่งศักดิ์สิทธิ์มาก
    หลวงปู่ท่านเสกคลุมทุกด้านจะเน้นทางมหาลาภ บูชา 150 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF1600.jpg
      DSCF1600.jpg
      ขนาดไฟล์:
      158.2 KB
      เปิดดู:
      62
    • DSCF1601.jpg
      DSCF1601.jpg
      ขนาดไฟล์:
      159.1 KB
      เปิดดู:
      68
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2010
  14. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เกร็ดประวัติการสร้าง "เหรียญกู้ผู้ชนะ"<!-- google_ad_section_end -->


    <HR style="BACKGROUND-COLOR: #ffffff; COLOR: #ffffff" SIZE=1>
    <!-- google_ad_section_start -->อย่าง พระเจ้าตากสิน นั่นต้องเรียกว่า น้ำใจเข้มแข็ง ขนาดข้าศึกล้อมอยู่แบบนั้น ท่านกับกำลังพล 500 ตีฝ่าข้าศึก ไม่ใช่ของง่ายเลยนะ ใช่ไหม
    คือไม่ใช่ของง่ายเลย ก็ยังมีลูกหาบอีก ไอ้ลูกหาบนี่ ดีไม่ดี ลูกหาบตาย นี่ไอ้รุ่นหน้าตีไป รุ่นหลังต้องประคองลูกหาบอีก สามารถเอาลูกหาบเสบียง เอาไปบ้างตามควรนิดหน่อย

    นี่เป็นนักรบที่มีฝีมือดี ถ้าใจไม่เข้มแข็งจริง ๆ จะกล้าตีข้าศึกไปได้อย่างไร กำลังนิดเดียวใช่ไหม แล้วไอ้ภายในประเทศก็ไม่ดี เสียครั้งแรก ตั้งกรุงศรีอยุธยามา 190 ปีเศษ แล้วมาครั้งที่ 2 นี่ 190 ปีเศษ

    กรุงเทพฯ เวลานี้ยุ่ง ๆ นะ 190 ปีเศษเหมือนกัน ชะตาประเทศไทย ถ้าถึง พ.ศ.2525 นะ ครบ 200 ปี พ้นเขต นี่เวลานี้มันเข้าเขตแล้วนะ แต่ว่าช่วงจังหวะนี้มันเข้าจังหวะเกณฑ์ เขาเรียกว่า เข้าเกณฑ์ดี จังหวะนี้นะ ตั้งแต่นี้ต่อไป เข้าเกณฑ์ดี

    ท่านถึงบอกให้ทำ "เหรียญกูผู้ชนะ" พระเจ้าตากสินให้ทำ ทีแรกจะทำก็ล้อเล่น ๆ หลวงปู่แหวนท่านทำ เหรียญเราสู้ --ปีที่แล้วไปกองบัญชาการทหารสูงสุด บอก เฮ้ย! ไอ้แค่ เราสู้ ยังแค่กัน กูสู้ว่ะ! ไอ้พวกนั้น ฮาตึง! บอก ดีครับ ๆ

    เราก็คิด พูดส่งไปตั้งปีที่แล้ว ไม่ได้คิดจะทำ มาปีนี้ท่านสั่งทำ บอก เราสู้--ก็แค่นั้นแหละครับ กูสู้--ก็แค่นั้น ยังสู้ --ต้อง "กูผู้ชนะ" ถามท่านว่า ทำไม บอก เวลานี้มันถึงเกณฑ์ชนะแล้ว ถาม เอารูปใคร บอก เอารูปผม บอก เอ้า ไม่ยกย่องตนเองเกินไปหรือ รัชกาลที่ 1 ก็เก่งใช่ไหม กรมพระราชวังบวร ท่านก็เก่ง ท่านบอกว่า ในฐานะที่ผมเป็นผู้นำ ก็ตามไปดูประวัติสิ ประวัติที่ ตากสินกู้ชาติ เคยแพ้จุดไหนบ้าง แน่ะ! เอาถึงอย่างนั้นเสียด้วย เลยต้องเอาตามท่าน เอา "กูผู้ชนะ" ก็เลยทำขึ้น ท่านสั่งทำ เวลาทำ ท่านก็มาทำด้วย ท่านทำด้วยเสร็จ

    คัดจาก หนังสือรวมคำสอนธรรมปฏิบัติของหลวงพ่อพระราชพรหมยาน เล่ม 14 หน้า 336 เรื่อง สนทนาหลังกรรมฐาน 25 วันอาทิตย์ที่ 3 กันยายน 2521<!-- google_ad_section_end -->

    เหรียญสามัคคีมีสุข "กูผู้ชนะ" หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี เนื้อโลหะกะไหล่ทองหลังผ้ายันต์ธงมหาพิชัยสงคราม (ธงนำทัพ)
    ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.7ซม. ด้านหลังเป็นพระบรมรูปพระเจ้าตากสินมหาราช สร้างในปี2521 อธิฐานให้หลวงพ่อช่วยเหลือ มีโอกาสประสบผลมากกว่า คนที่ไม่มีบูชาครับ
    คาถาไพรีพินาศ เหรียญกูผู้ชนะ (เป็นคาถาอาราธนาของพระร่วง)
    "อิทธิฤทธิ์ พุทธะนิมิตตัง ขอเดชะเดชัง ขอเดชเดชะ จงมาเป็นที่พึ่งแก่ มะอะอุ นี้ด้วยเถิด"

    มาพร้อมกับ ผ้ามงคลที่นำมาแจกนี้ได้จากตำราหลวงพ่อปาน วัดบางนมโค อำเภอเสนา
    จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตามตำราท่านให้ชื่อว่า
    ธงมหาพิชัยสงคราม” เป็นตำรา ที่หลวงพ่อปาน ท่านเรียน
    และได้รับตำรานี้จากท่านอาจารย์แจง เมืองสวรรคโลก
    (อำเภอสวรรคโลก ปัจจุบัน) ตามตำราแจ้งว่าเป็นตำราที่พระร่วงใช้ในสมัยกู้ชาติ
    ท่านอธิบายผลไว้มากมาย ขอแจ้งแต่เพียงสรรพคุณโดยย่อว่า ท่านใช้เป็นธงนำทัพ

    พระเครื่องของหลวงพ่อท่าน มีอานุภาพป้องกันสรรพอันตรายทั้งปวง
    รวมทั้งรังสีต่างๆ,นิวเคลียร์,เคมี,แก๊สพิษ,ก๊าซชีวะภาพ และฝนเหลือง
    ให้ผลทางลาภ เมตตามหานิยม สมใจปรารถนา..
    เหรียญนี้มีด้วยกัน ๒ ชนิด คือ ชนิดโลหะรมน้ำตาล (หรือ รมดำ) ปลุกเสกเมื่อวันวิสาขบูชา ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๒๑ ถือเป็นรุ่นแรก ส่วนอีกชนิดหนึ่ง คือ ชนิดโลหะสีทอง หรือ ชุบทอง ปลุกเสกเดือนเมษายน ๒๕๒๘ เป็นรู่นที่สอง ทั้งสองชนิดเป็นพิมพ์เดียวกันทั้งหน้าและหลัง ด้านหลังเป็นรูปและชื่อ พระเจ้าตากสินมหาราช และมีข้อความด้านบนว่า กูผู้ชนะ หลวงพ่อได้ชี้แจงเรื่องการสร้างเหรียญนี้ไว้ดังนี้
    "อาตมาทำเหรียญพิเศษ ให้นามว่า "กูผู้ชนะ" แจกแด่ท่านที่ร่วมกุศลสาธารณประโยชน์ สงเคราะห์ผู้ยากจนในถิ่นทุรกันดาร โดยเอาเงินที่ได้จากการแจกเหรียญนี้ซื้ออุปกรณ์ในการแจกของ จำนวนที่ทำมีจำนวนจำกัดไม่มากนัก เริ่มทำการปลุกเสก วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๒๑ ตรงกับวันวิสาขบูชา จะเริ่มทำการแจกวันเข้าพรรษา คือ วันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๒๑ เป็นต้นไป
    อัตราบำเพ็ญกุศล เดิมมิได้กำหนดไว้ อยากจะให้เป็นไปตามศรัทธาของท่านผู้รับ และตั้งใจทำบุญ มีหลายท่านแจ้งมาว่า คนจนที่มีเงินน้อย บางท่านอยากจะได้ไว้มาก เพื่อให้เพียงพอแก่คนในครอบครัว เห็นคนอื่นทำบุญมาก และได้รับเหรียญเดียว ตนเองยากจน ครั้นจะบริจาคมากก็ไม่มีพอ ขอให้กำหนดอัตราขั้นต่ำไว้ เพื่อความสบายใจของท่านผู้รับ อาตมาขอกำหนดอัตราสำหรับบริจาคสงเคราะห์ผู้ยากจนไว้ดังนี้ ท่านผู้รับจะรับเหรียญนี้ได้ โดยที่ท่านบริจาคทรัพย์ร่วมสาธารณกุศลตั้งแต่ ๑๐ บาท ขึ้นไป ถ้าไม่เกรงใจคนที่บอกว่ายากจน จะไม่กำหนดราคาเลย
    สำหรับเหรียญ "กูผู้ชนะ" นี้ ไม่มีวางแจกหรือขายในที่ใดทั้งหมด ทุกท่านจะได้รับจากอาตมาเองแห่งเดียว"
    พระมหาวีระ ถาวโร
    ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๒๑
    วัดจันทาราม (ท่าซุง) อ.เมือง จ.อุทัยธานี

    (คัดลอกมาจากหนังสือ "สมบัติพ่อให้" ของวัดท่าซุง (๑๕ มีนาคม ๒๕๓๕) ลอกมจากพี่ Lekplut ครับ
    สโลแกน ที่กรรมการวัดท่าซุง การันตีไว้ว่า
    "ห้อยพระหลวงพ่อฤาษีลิงดำ
    กระดูกจะไม่หัก! จะไม่ตายก่อนอายุไข!"

    หลวงพ่อท่านเคยรับสั่งว่า ในอนาคตพระเครื่องของท่านจะมีค่ามหาศาล
    (หากไม่โดนพระเก๊ สกัดดาวรุ่งซะก่อน...ฮา อันนี้ผู้เขียนเติมเอง :)
    พระเก๊ทำเลียนแบบของท่าน ออกมาเยอะแทบทุกรุ่น เวลาเกิดเหตุการณ์ร้ายแรงประสบกับเหตุต่างๆ
    แล้วบารมีไม่เกิด ปาฏิหาริย์ไม่พบ ชาวบ้านก็ขาดความมั่นใจ 'ทำไมหลวงพ่อไม่ช่วยลูกช้างเลย'?
    แต่ที่ไหนได้ ไม่ได้เช่ามาจากวัด ไม่ได้รับมากับมือท่าน แต่ได้ไปเช่าจากร้านที่ขาดความน่าเชื่อถือ
    ก็เอาของเก๊ทำเลียนแบบไปบูชากัน)


    ณ ปัจจุบันเป็นเรื่องแปลกมาก พระสังขารของท่าน กลายเป็นพระธาตุทั้งองค์
    คือขาวโพลนทั้งองค์ซึ่งต่างกับ พระอริยสงฆ์องค์อื่นๆ ที่มรณะภาพไปแล้ว
    ร่างกายจะไม่เน่าเปื่อย ผิวหนังเหี่ยวแห้งธรรมดาทั่วไป
    แต่ท่านกลับมีสังขารเป็นพระธาตุทั้งองค์ สร้างความประหลาดใจ
    ให้กับผู้พบเห็นอย่างมาก อาจจะเป็นเพราะ
    ด้วยบุญบารมี ที่ท่านได้ทำไว้ก่อนละสังขาร นั่นเองครับ

    ประสบการณ์จริง เหรียญสามัคคีมีสุข-หลังเหรียญพระเจ้าตากสินมหาราช
    เรื่องที่จะเล่าให้ฟังนี้เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริง มีน้องอยู่คนหนึ่งเรียนอยู่ที่
    โรงเรียนพระสุธรรม(วัดท่าซุง)เป็นเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นจริงในขณะนั้น
    น้องคนนี้มีนิสัยชอบแข่งรถชอบความเร็ว ในระหว่างขับรถมาเร็วมาก ขับแข่งกันมา
    พอดีรถเกิดอุบัติเหตุรถเสียหลักขับไปชนกับลวดสริงเสาไฟฟ้า สายลวดเสาไฟฟ้าขาดโช๊ครถมอเตอร์ไซร์งอคต
    ตัวน้องคนนี้กระเด็นตกรถลงไปในนาข้าว ข้างทางสลบ ชาวบ้านแถวนั้น มาดูกันคิดว่าต้องตายแน่ๆ
    มันขับมาแรงอย่างนี้ ขับแข่งกันมา คนแถวนั้นลงไปช่วยอุ้มขึ้นมาจากนาข้าว เพราะว่าจมน้ำอยู่
    พอน้องคนนั้นมีสติฟื้นขึ้นมา ชาวบ้านแถวนั้นถามว่า เอ็งมีพระอะไรดีวะ
    น้องคนนั้นก็โชว์พระที่คล้องคอออกมาให้ดูคือ
    เหรียญสามัคคีมีสุข-กูผู้ชนะหลังเหรียญพระเจ้าตากสินมหาราช
    บูชา 850 บาทรัปประกันแท้ล้านเปอร์เซนต์จากศิษย์สายพะเยา
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • CR4_3847.jpg
      CR4_3847.jpg
      ขนาดไฟล์:
      66.5 KB
      เปิดดู:
      136
    • DSCF1542.JPG
      DSCF1542.JPG
      ขนาดไฟล์:
      234.9 KB
      เปิดดู:
      64
    • DSCF1543.JPG
      DSCF1543.JPG
      ขนาดไฟล์:
      202 KB
      เปิดดู:
      67
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2010
  15. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    <TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD class=contentheading width="100%">เหรียญพระชัยหลังช้างภปร</TD></TR></TBODY></TABLE>
    เหรียญพระชัยหลังช้าง
    เหรียญพระชัยหลังช้าง" เหรียญดังพิธีดีอีกเหรียญหนึ่งที่หยิบยกมากล่าวถึง เป็นเหรียญที่ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ แห่งวัดสามพระยา กรุงเทพมหานคร ในนามคณะสงฆ์ได้ดำเนินการจัดสร้างขึ้น สืบเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ 60 พรรษา ในปี พ.ศ.2530

    เป็นเหรียญปั๊มด้านหน้าเป็นรูปพระชัยวัฒน์ที่เรียกกันว่า "พระชัยหลังช้าง" ด้านหลังเป็นพระปรมาภิไธยย่อ "ภปร." มีอักษรปรากฏบนเหรียญว่า "5 ธันวาคม 2530" และ "คณะสงฆ์สร้างในมหามงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ"

    "เหรียญพระชัยหลังช้าง" เป็นเหรียญดีเพราะพิธีการจัดสร้างเปี่ยมด้วยความศักดิ์สิทธิ์ ทั้งเจตนาการจัดสร้างเพื่อนำรายได้จากการบริจาคบูชานั้น ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2530 ณ พระอุโบสถ วัดบวรนิเวศวิหาร มีพระเกจิอาจารย์ดังปลุกเสกมากมาย ประการสำคัญยิ่ง เหรียญพระชัยหลังช้าง มีสมเด็จพระสังฆราชถึง 2 พระองค์ ปลุกเสก นั้นคือ สมเด็จพระสังฆราช (วาส) วัดราชบพิธฯ และสมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรนิเวศวิหาร ที่ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช เมื่อปี พ.ศ.2532

    และ"เหรียญพระชัยหลังช้าง"มีสมเด็จพระราชาคณะที่ร่วมปลุกเสกอีก คือ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา สมเด็จพระวันรัต วัดโสมนัสวิหาร สมเด็จพระธีรญาณมุนี วัดปทุมคงคา สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว) วัดสระเกศ เมื่อครั้งยังเป็นที่พระพรหมคุณาภรณ์

    แล้วยังมีพระเกจิอาจารย์ดังแห่งยุคนั้น อาทิ หลวงพ่อแพ แห่งวัดพิกุลทอง จังหวัดสิงห์บุรี พระมหาวีระ ถาวโร (หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ) วัดท่าซุง หลวงพ่อชื้น วัดญาณเสน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระครูสันติวรญาณ (สิม) วัดถ้ำผาปล่อง พระอุดมสังวรเถร (อุตตมะ) วัดวังก์วิเวการาม จังหวัดกาญจนบุรี พระครูฐาปนกิจสุนทร (เปิ่น) วัดบางพระ จังหวัดนครปฐม หลวงปู่ม่น วัดเนินตาหมาก จังหวัดชลบุรี พระครูเกษมธรรมนันท์ (แช่ม) วัดดอนยายหอม พระครูปริมานุรักษ์ (พูล) วัดไผ่ล้อม จังหวัดนครปฐม

    ที่สำคัญ หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ แห่งวัดท่าซุง ท่านเคยกล่าวไว้กับลูกศิษย์ของท่านว่า เหรียญพระชัยหลังช้างนี้เป็นเหรียญที่มีพุทธานุภาพดีมากๆ

    กล่าวสำหรับพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์รัชกาลปัจจุบันนี้ มีความเป็นมาสืบเนื่องจากราชประเพณีหล่อพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาล เริ่มเมื่อ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงมีพระราชดำริว่า พระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำพระองค์ที่เชิญไปในราชการศึกสงคราม ซึ่งเรียกกันว่า "พระชัยหลังช้าง" นั้น ได้เชิญไปประดิษฐานหน้าพุทธบัลลังก์พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร เพราะเป็นพระพุทธรูปคู่บารมีมาด้วยกัน จึงขาดพระพุทธปฏิมาสำหรับถวายสักการะ ณ พระราชมณเฑียร จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ขึ้นแทน ถวายพระนามว่า พระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาล

    ในรัชกาลต่อมา เมื่อประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ถือเป็นราชประเพณีที่จะต้องหล่อพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์สืบมาทุกรัชกาล

    พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2493 ยังไม่ได้สร้างพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาล ในการพระราชพิธีจึงต้องเชิญพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ของรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช เป็นพระพุทธรูปประธานในงานพระราชพิธี ครั้น พ.ศ.2495 เสด็จพระราชดำเนินกลับจากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มาประทับพระนคร พ.ศ.2506 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หล่อพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาลตามราชประเพณี และโปรดเกล้าฯ ให้ นายพิมาน มูลประมุข เป็นช่างปั้นหุ่นพระพุทธรูป
    พระเครื่องและเหรียญที่ระลึกที่มีพระปรมาภิไธยย่อ "ภปร" ประดิษฐานอยู่ ไม่ว่าจะเป็นด้านหน้า หรือด้านหลัง ถือว่าเป็นสิ่งมงคลที่น่าเก็บสะสมบูชาอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเหรียญพระพุทธรูปของ วัดต่างๆ ที่มีตรา ภปร.ประดิษฐานอยู่ด้านหลังนั้นมีอยู่จำนวนมากเช่นกัน
    หลายๆ รุ่นมีพิธีการสร้างที่เข้มขลัง และมีพุทธศิลป์ที่งดงามอย่างยิ่ง ดั่งเช่นเหรียญพระพุทธ หรือเหรียญพุทธคุณ พระปรมาภิไธยย่อ ภปร.ที่เรียกขานกันว่า "เหรียญพระชัยหลังช้าง" สร้างโดยคณะสงฆ์ทั้ง 2 นิกายในปีมหามงคลเจริญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ 60 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันที่ 5 ธ.ค.2530 "เหรียญพระชัยหลังช้าง" มีเนื้อทองคำ, เนื้อเงิน, เนื้อกะไหล่ทอง

    มูลเหตุที่นำรูป พระชัยหลังช้างมาจัดสร้างเพื่อเทิดพระเกียรติล้นเกล้าทั้งสอง พระองค์ ด้วยเห็นว่าพระชัย (หลังช้าง) เป็นพระคู่บ้านคู่เมือง คู่บุญญาบารมีของปฐมกษัตริย์แห่งราชจักรีวงศ์ ควรที่ประชาชนจะมีไว้สักการบูชา เพราะเป็นพระพุทธรูปที่มีความศักดิ์สิทธิ์อยู่ในพระองค์
    ดังเช่น สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น) อดีตเจ้าอาวาสวัดสามพระยา กรุงเทพฯ ได้ลิขิตไว้ว่า"เหรียญพระชัยหลังช้าง" "หากอยู่กับบ้านก็คุ้มบ้าน หากอยู่กับตัวก็คุ้มตัว" และเพื่อเป็นการยืนยันคำพูดดังกล่าว ท่านจึงได้จัดพิมพ์หนังสือเรื่อง "ปรากฏการณ์อันน่าพิศวงเกี่ยวด้วยเหรียญพระชัย (หลังช้าง)" ขึ้น โดยรวบรวมเรื่องราวจากผู้ที่ได้รับประสบการณ์จากเหรียญนี้มากมายหลายท่าน
    เหรียญพระชัยหลังช้าง ความเป็นมาของ "พระชัยวัฒน์" เดิมมีพระนามว่า "พระชัย" หรือ "พระไชย" ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ออกพระนามเพิ่มว่า "พระไชยวัฒน์" และได้เปลี่ยนพระนามมาเป็น "พระชัยวัฒน์" ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

    พระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ รัชกาลปัจจุบัน เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ประทับนั่งขัดสมาธิเพชร มีฉัตรปรุ 5 ชั้นปักกั้น หน้าตักกว้าง 7 นิ้ว สูงจากทับเกษตรถึงยอดพระรัศมี 9 นิ้ว มีพัดแฉกหล่อด้วยเงินปักข้างหน้า ที่ฐานมีคำจารึก ซึ่งเป็นต้นแบบในการนำมาสร้าง เหรียญพระชัยหลังช้าง มีทั้ง ทั้งองค์ ภ.ป.ร. และองค์ ส.ก
    มี1ชุด2เหรียญให้บูชา 500 บาท พร้อมจัดส่ง

    <TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD class=contentheading width="100%">เหรียญพระชัยหลังช้างภปร</TD></TR></TBODY></TABLE>
    เหรียญพระชัยหลังช้างสก
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF1546.JPG
      DSCF1546.JPG
      ขนาดไฟล์:
      285.5 KB
      เปิดดู:
      327
    • DSCF1547.JPG
      DSCF1547.JPG
      ขนาดไฟล์:
      316 KB
      เปิดดู:
      297
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 สิงหาคม 2010
  16. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    <TABLE style="WIDTH: 451.5pt; mso-cellspacing: 0cm; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" class=MsoNormalTable border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=602><TBODY><TR style="HEIGHT: 24pt; mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BACKGROUND: #fff9ea; HEIGHT: 24pt; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">
    ประวัติพระขี่ม้าบิณฑบาตร



    <O:p> </O:p>


    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 24pt; mso-yfti-irow: 1; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BACKGROUND: #fff9ea; HEIGHT: 24pt; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">
    "อาชาทอง'ม้าหนุ่มร่างกำยำ ควบตะบึงพา'พระครูบา'ข้ามเขาลูกแล้วลูกเล่าเพื่อรับบาตรจากญาติโยมผู้มีจิต <O:p></O:p>



    ีจิตศรัทธา แลเผยแผ่ธรรมะของพระพุทธองค์ อาหารที่เหลือจากการบิณฑบาตถูกแจกจ่ายให้ชาวเขาผู้ยากไร้ กว่า<O:p></O:p>


    13 ปีแล้วที่ 'พระครูบาเหนือชัย'พากเพียร ให้ความรู้ทั้งทางโลกและทางธรรมแก่ชาวเขาเผ่าต่างๆที่อาศัยอยู่ตาม<O:p></O:p>


    แนวตะเข็บชายแดน จ.เชียงราย เพื่อเปลี่ยนพวกเขาจากกลุ่มผู้ลักลอบขนยามาเป็นชาวไร่ผู้หวงแหนและร่วมพิทักษ์<O:p></O:p>


    ์ผืนแผ่นดินไทยพระครูบาเหนือชัยโฆสิโต' เจ้าอาวาส 'วัดป่าอาชาทอง' อ.แม่จัน จ.เชียงราย ได้เปลี่ยนฐานะจาก<O:p></O:p>


    "นายเสมอชัย ใจบินตา " หนุ่มวัย 29 ปีที่ชอบวิชาหมัดมวยมาบวชเป็นภิกษุเพื่อศึกษาธรรมะ ท่านตัดใจจากภรรยา<O:p></O:p>


    และลูกน้อยชาย-หญิงทั้ง 2 คน หลังจากมีครอบครัวได้เพียง 8 ปี ด้วยเห็นทุกข์ของชีวิตทางโลก จะบวชเพียง 7 วัน<O:p></O:p>


    แต่นับจากวันนั้นถึงวันนี้เป็นเวลากว่า 13 ปีแล้วที่ท่านมุ่งศึกษาและเผยแผ่ธรรมะแก่บรรดาชาวเขาตามแนวตะเข็บ<O:p></O:p>


    ชายแดนหลังครองผ้ากาสาวพัสตร์ได้เพียง 1 วัน ท่านก็ออกธุดงค์เพื่อแสวงหาความสงบ โดยยึดโอวาทจากพระ<O:p></O:p>


    อุปัชฌาย์ว่า 'บวชเพื่อทำพระนิพพานให้แจ้ง' ท่านเดินทางมาจนถึง'ดอยผาม้า'และเห็นว่าเป็นสถานที่ที่เหมาะสมจึง<O:p></O:p>


    ยึดเป็นที่ปฏิบัติธรรม พระครูบานั่งสมาธิ พิจารณาขันธ์ 5 ด้วยใจมุ่งมั่นที่จะบรรลุธรรม ครั้งหนึ่งท่านนอนหลับและว่า<O:p></O:p>


    'หลวงปู่สด' วัดปากน้ำภาษีเจริญ มาสอนวิชาธรรมกาย ให้ท่านทำใจใสๆ กำหนดองค์พระอยู่ศูนย์กลางกายท่านไม่<O:p></O:p>


    มั่นใจว่าฝันนั้นเป็นจริงหรือไม่ จึงอธิษฐานจิตว่าหากหลวงปู่สดมาพบในฝันจริงขอให้มีญาติโยมนำปัจจัยมาถวาย 1,000 บาท พอรุ่งเช้าก็มีนักข่าวของสถานีวิทยุท้องถิ่นนำปัจจัยมาถวายตามคำอธิษฐาน และขอสมัครเป็นศิษย์ ท่านจึงให้ญาติโยมดังกล่าวพาท่านไปยังวัดปากน้ำ และนำเงิน 1,000 บาทที่ได้ทำบุญกับทางวัด จึงนำคำสอนของ<O:p></O:p>


    หวงปู่สดมาใช้ในการนั่งสมาธิเรื่อยมา<O:p></O:p>


    ครั้งหนึ่งท่านนั่งสมาธิบนโขดหินโดยอธิษฐานว่า " จะขอนั่งอยู่ตรงนี้จนกว่าจะบรรลุธรรม แม้ตายก็จะไม่ลุก<O:p></O:p>


    จากที่นี่ " ท่านนั่งนิ่งอยู่ 15 วัน จนผึ้งมาเกาะทำรังตามเนื้อตัว ท่านรู้สึกเจ็บจึงพยายามแยกความรู้สึกของกายออก<O:p></O:p>


    จากจิต แม้กายจะเจ็บ แต่จิตนิ่งใสสว่าง ความเจ็บก็ทุเลาลง ท่านนั่งจนหมดสติไป และในฝันท่านเห็น 'หลวงปู่เกษม'<O:p></O:p>


    ซึ่งศึกษาฌานสมาบัติอยู่ ณ สุสานไตรลักษณ์ จ.ลำปาง มาบอกว่า นี่คือการเข้านิโรธสมาบัติ แยกจิตกับกายและ<O:p></O:p>


    ให้มั่นเพียรนั่งสมาธิ ซึ่งจะทำให้เกิดปัญญา อันเป็นหนทางแห่งการบรรลุธรรม<O:p></O:p>


    เมื่อท่านยังเห็นพระซึ่งเป็นครูบาอาจารย์มากมายมารายล้อมและบอกกับท่านว่า "นับแต่นี้จะมีผู้คนมากมายมา<O:p></O:p>


    สนับสนุนการเผยแผ่ธรรมมะของท่าน" และก็เป็นจริงเช่นนั้น เพราะหลังจากท่านฟื้นขึ้นก็พบว่า มีชาวบ้านเดินทางมา<O:p></O:p>


    กราบไหว้และถวายอาหาร เนื่องจากในช่วงที่พระครูบาเหนือชัยนั่งหลับตาและมีผึ้งมาเกาะนั้น มีชาวบ้านมาพบเข้า<O:p></O:p>

    และเกิดจิตศรัทธาจึงไปชักชวนชาวบ้านคนอื่นๆมากราบไหว้ พร้อมทั้งช่วยกันสร้างที่พักให้ จนกลายเป็น 'วัดป่าอาชาทอง' จนถึงปัจจุบัน<O:p></O:p>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    เหรียญครูบาเหนือชัยปี 2542 บูชา 250 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 32Aa2.jpg
      32Aa2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      65.8 KB
      เปิดดู:
      132
    • a2.jpg
      a2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      91.6 KB
      เปิดดู:
      86
    • a1.jpg
      a1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      91.5 KB
      เปิดดู:
      105
    • b5.jpg
      b5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      112.3 KB
      เปิดดู:
      62
    • DSCF1553.JPG
      DSCF1553.JPG
      ขนาดไฟล์:
      292.6 KB
      เปิดดู:
      70
    • DSCF1552.JPG
      DSCF1552.JPG
      ขนาดไฟล์:
      311.2 KB
      เปิดดู:
      67
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2010
  17. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เหรียญ 4 เซียนปราบมาร
    ***************************
    บูชา 250บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF1562.JPG
      DSCF1562.JPG
      ขนาดไฟล์:
      263.3 KB
      เปิดดู:
      72
    • DSCF1563.JPG
      DSCF1563.JPG
      ขนาดไฟล์:
      326.2 KB
      เปิดดู:
      73
  18. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เหรียญรุ่น 1 ปี 2524 ครูบาอิ่นแก้ว วัดศรีดอนมูล อ.เชียงแสน เชียงราย
    บูชา 400 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF1566.JPG
      DSCF1566.JPG
      ขนาดไฟล์:
      288.3 KB
      เปิดดู:
      64
    • DSCF1567.JPG
      DSCF1567.JPG
      ขนาดไฟล์:
      306.1 KB
      เปิดดู:
      59
  19. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เหรียญเมตตาหลวงพ่อบุญเย็น สำนักพระเจ้าพรหมมหาราช อ.ฝาง เชียงใหม่
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF1568.JPG
      DSCF1568.JPG
      ขนาดไฟล์:
      265.5 KB
      เปิดดู:
      69
    • DSCF1569.JPG
      DSCF1569.JPG
      ขนาดไฟล์:
      253.6 KB
      เปิดดู:
      206
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2010
  20. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    วัดพระธาตุจอมคีรี ตั้งอยู่หมู่ที่ 11 ตำบลป่าแดด อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย น่าจะมีอายุประมาณ 1,800 ปี เพราะจากลักษณะของพระพุทธรูปหินทรายและลักษณะองค์พระธาตุ (องค์เดิม) เป็นหินทราย และจะต้องมีการเคลื่อนย้ายมาจากเมืองพะเยาหรือเวียงลอ เพราะในพื้นที่ของอำเภอป่าแดดไม่มีหินทราย ลักษณะดังกล่าวและสันนิษฐานว่าพื้นที่อำเภอป่าแดดทั้งหมดเป็นเมืองหน้าด่านหรือหัวเมืองของเมืองพะเยาหรือเวียงลอสมัยนั้น

    เนื่องจากได้พบคูเวียง 3 แห่ง คือ คูเวียงหลวงพ่อหนุ่ม อยู่หมู่ที่ 11 ตำบลป่าแดด คูเวียงแก่นดอนแก้ว อยู่หมู่ 6 ตำบลโรงช้าง และคูเวียงศรีโพธิ์เงิน อยู่หมู่ 8 ตำบลศรีโพธิ์เงิน พระธาตุจอมคีรีและวัดร้างอีก 6 แห่ง ในอำเภอป่าแดด ได้ถูกทิ้งให้รกร้าง ปรักหักพัง ต่อมาพ.ศ. 2480 ครูบาศรีวิชัยเดินธุดงค์ผ่านป่าแดด พบพระธาตุจอมคีรี จึงได้ขอความร่วมมือจากชาวป่าแดด ช่วยกันบูรณะในปี พ.ศ. 2496 เจ้าอาวาสวัดศรีชุมประชาได้บูรณะอีกครั้งในปี พ.ศ. 2516 พระครูศิริปัญญาจารย์ เจ้าอาวาสวัดศรีประชุมประชา เจ้าคณะอำเภอป่าแดดได้ร่วมกับชาวป่าแดด ก่ออิฐฉาบปูน ครอบองค์พระธาตุองค์เดิมไว้ และสร้างศาลาไว้ทำบุญ 1 หลัง และถังน้ำฝน 1 ถัง ในปีพ.ศ. 2538
    เหรียญหลวงพ่อหนุ่มรุ่น 1 ฟ้าคำรณปี 2539 2เหรียญบูชา 500 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF1574.JPG
      DSCF1574.JPG
      ขนาดไฟล์:
      377 KB
      เปิดดู:
      82
    • DSCF1575.JPG
      DSCF1575.JPG
      ขนาดไฟล์:
      405.3 KB
      เปิดดู:
      61

แชร์หน้านี้

Loading...