ติดตามสถานะการณ์

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย สุกิจSukit, 8 มิถุนายน 2013.

  1. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Piyacheep S.Vatcharobol shared a link.
    51 minutes ago ·

    Trisha Wareing
    Solar storm could leave Britain without power 'for months' - Telegraph

    อังกฤษคำนวนว่าพายุสุริยะที่จะทำให้ไฟฟ้าดับนานนับเดือนนั้น ดวงอาทิตย์จะเกิดปฏิกิริยาสูงสุดในปี ค.ศ.2015

    อังกฤษคำนวนแบบวัฏจักรดวงอาทิตย์แบบรอบ ๒๔ ปี ซึ่งจะเกิดเหตุการณ์พายุสุริยะรุนแรงทุกๆ ๑๕๐ ปี

    ข่าวนี้อาจทำให้สบายใจว่า อีก ๒ ปีถึงจะเกิด
    แต่หากมองในมุมกลับกันว่า เป็นการออกข่าวย้ำเตือนวันมันจะเกิด เป็นการเตือนทางอ้อมว่ามันจะเกิดแน่ๆนะ แต่ต้องบอกอีก ๒ ปี เพราะต้องการลดภาวะตึงเครียดในปีนี้ที่หลายฝ่ายกังวลเท่านั้นเองหรือไม่?

    สังเกตุการออกข่าวแต่ละครั้งเป็นการออกข่าวเฉพาะด้าน เฉพาะจุด ไม่ได้มีการออกข่าวจากหน่วยงานใดๆแบบบูรณาการ ที่รวบรวมข้อมูลทุกด้าน เช่น พายุสุริยะจากดวงอาทิตย์ พายุสุริยะจากนอกระบบสุริยะ การเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กโลก การเคลื่อนที่ของแม๊กม่า ฯลฯ

    ฝรั่งว่าให้ตระหนกวิตกปี ค.ศ. 2015
    แต่ผมว่าให้ตระหนักปี ค.ศ.2013 นี้ให้รอดปลอดภัยก่อนจะดีกว่า
    ปี ค.ศ. 2015 ค่อยว่ากันอีกครั้งนะครับ
    Solar storm could leave Britain without power 'for months' - Telegraph
    Telegraph.co.uk - Telegraph online, Daily Telegraph, Sunday Telegraph - Telegraph
     
  2. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    ตารางที่ ดร.ก้องภพ อยู่เย็น ข้อมูลจาก อาสาดุสิต ตารางคำนวณจาก ดร.ก้องภพ | อาสาดุสิต
    คำนวณความน่าจะเป็นของภูมิอากาศ และแผ่นดินไหว
    ส่วนสถานที่ และเวลา เรื่อง ฝน ฟ้า อากาศ ฝนตกน้ำท่วม จะบอกล่วงหน้าได้อย่างมากสุด ๓ วัน เร็วสุด ๑ วัน แผ่นดินไหวเร็วสุด ๑ วัน ช้าสุด ๓ ชั่วโมง
    ** ตารางนี้ เป็นเพียงการคำนวณ ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ของ ดร.ก้องภพ อยู่เย็น ซึ่งเป็นวิศวกรไทยในองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ หรือองค์การนาซ่า (NASA)ได้อนุเคราะห์ ช่วยแนะนำ และสรุปให้ทางกลุ่มอาสาดุสิต นำมาใช้ประโยชน์ เพื่อใช้ในการเตรียมการช่วยเหลือ หากมีภัยพิบัติใดๆก็ตามเกิดขึ้น ดังนั้น ข้อมูลทั้งหมด จึงมิใช่ การบอกว่า สิ่งนี้ ต้องเกิด สิ่งไหน จะเกิด วัน เวลา ใด ที่ใด มิใช้หมอดู มิใช่คำทำนาย แต่เป็นเพียงการประมาณการ เพื่อการเตรียมการ เตรียมความพร้อม เท่านั้น จึงไม่มีถูก หรือผิด ขอให้ทุกท่าน ได้โปรดใช้ วิจารณญานในการตรวจสอบข้อมูลข่าวสารจากแหล่งต่างๆ ประกอบกัน เนื่องจาก สิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นในโลกนี้ มักมีองค์ประกอบต่อเนื่อง เชื่อมโยงกัน ขอบพระคุณคะ **
    วิธีการดูตาราง
    ความรุนแรงมีเพียง ๕ ระดับ ทั้งลมพายุน้ำ และแผ่นดินไหว ความรุนแรงของแผ่นดินไหวให้ดูตารางด้านบน เช่น ระดับ ๕ คือ แผ่นดินไหวรุนแรงตั้งแต่ ๖.๕ ริคเตอร์ขึ้นไป
    ตารางช่องที่ ๑ คือ วันที่
    ช่องที่ ๒ Aligment คือปรากฏการณ์ดาวเรียงตัว เป็นตัวย่อ ให้ดูด้านบน M แทนค่า Mercury
    ช่องที่ ๓ Solar Activitives คาดการณ์โอกาสเกิดภับพิบัติที่เกี่ยวกับดินฟ้าอากาศ ฝนตก น้ำท่วม อากาศหนาง หิมะตก
    ช่องที่ ๔ ใส่ข้อมูลเหตุการณืที่เกิดจริง
    ช่องที่ ๕ EarthQ Risk โอกาสเกิดแผ่นดินไหว
    ช่องที่ ๖ ใส่ข้อมูลการเกิดเหตุการณ์จริง
    ตัวเลข ๑-๕ แสดงระดับความแรงของเหตุการณ์ ๕ แรงสุด
    ช่องแผ่นดินไหว ดูตารางเปรียบเทียบ ๕ คือ ความแรงแผ่นดินไหว ๖.๕ ริกเตอร์ขึ้นไป

    1.jpg

    ทั้งหมด เป็น ตารางวันที่เกิดภัยพิบัติประจำเดือนต่างๆต่อจากนี้คะ
    มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔
    2.jpg

    กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๔
    3.jpg

    มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
    4.jpg

    เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔
    5.jpg


    ขอขอบพระคุณ www.truth4thai.org มากๆคะ
    ที่สรุปข้อมูลต่างๆได้ละเอียดครบถ้วน และทำให้ทุกคนได้เข้าใจแบบง่ายๆเสมอ
    http://www.truth4thai.org/planetaryalignment/Mar18_28_2011

    สรุป เหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์
    6.png

    สรุป เหตุการณ์รอบโลก
    14 มีนาคม
    - ดาวเทียม ACE สัญญาณขาดตอนเวลา 2-4 UTC truth4thai.org/sites/default/files/IonDensity_Mar14_11.gif
    - แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริตเตอร์ 6:12 UTC ที่ประเทศญี่ปุ่น Earthquake - Magnitude 6.1 - OFF EAST COAST OF HONSHU, JAPAN - 2011 March 14, 06:12:36 UTC
    15 มีนาคม
    - ดาวเทียม ACE สัญญาณขาดตอนเวลา 0-2 UTC truth4thai.org/sites/default/files/IonDensity_Mar15_11.gif
    - แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริตเตอร์ 9:49 UTC ที่ประเทศญี่ปุ่น Earthquake - Magnitude 6.1 - OFF EAST COAST OF HONSHU, JAPAN - 2011 March 15, 09:49:53 UTC
    - แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริตเตอร์ 13:31 UTC ที่ประเทศญี่ปุ่น Earthquake - Magnitude 6.1 - EASTERN HONSHU, JAPAN - 2011 March 15, 13:31:47 UTC
    - แผ่นดินไหวขนาด 6.0 ริตเตอร์ 15:23 UTC ที่ประเทศญี่ปุ่น Earthquake - Magnitude 6.0 - OFF EAST COAST OF HONSHU, JAPAN - 2011 March 15, 15:23:53 UTC
    - เกิดเหตุหิมะตกที่เมืองคุงหมิง ประเทศจีน һ

    – ขอบคุณคุณ khaminnoi ที่ให้ข้อมูล
    - ภูเขาไฟระเบิดที่ฮาวายสัปดาห์ก่อนทำให้เกิดไฟใหม้เป็นบริเวณกว้าง http://www.ctv.ca/CTVNews/SciTech/20110315/hawaii-kamoamoa-volcanic-eruption-sparks-wildfire-110315/
    - มีรายงานปลาตายหลายพับตัวที่ประเทศออสเตรเลีย http://www.abc.net.au/news/stories/2011/03/15/3163937.htm

    16 มีนาคม
    - แผ่นดินไหวขนาด 6.0 ริตเตอร์ 3:52 UTC ที่ประเทศญี่ปุ่น http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=213879
    - มีรายงานหิมะตกที่ประเทศเวียดนาม http://www.manager.co.th/IndoChina/ViewNews.aspx?NewsID=9540000034121
    - ดาวเทียม ACE ตรวจจับปริมาณความหนาแน่นประจุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม ที่ผ่านมา คาดว่าเป็นผลกระทบจากพายุสุริยะในวันที่ 11 มีนาคม

    17 มีนาคม
    - พายุโซนร้อนลูกใหม่ก่อตัวขึ้นที่มหาสมุทรอินเดีย – ขอบคุณคุณ Disaster Reporter ที่ให้ข้อมูล http://hisz.rsoe.hu/alertmap/read/index.php?pageid=tstorm_read&trid=586
    - แผ่นดินไหวขนาด 6.2 ริตเตอร์ ที่เกาะ Vanuatu เวลา 2:48 UTC http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=214092

    - แผ่นดินไหวขนาด 6.0 ริตเตอร์ ที่ญี่ปุ่น เวลา 4:13 UTC http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=214116
    - ปลาวาฬ 30 ตัวเกยตึ้นทีชายฝั่งประเทศประเทศออสเตรเลีย http://www.news.com.au/breaking-news/whales-stranded-on-bruny-island/story-e6frfku0-1226023503630
    http://www.perthnow.com.au/news/special-features/whales-stranded-on-tasmanian-south-bruny-island-beach/story-e6frg19l-1226023409360
    - เกิดพายุขนาดใหญ่บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก http://www.weather.com/maps/maptype/satelliteworld/pacificoceansatellite_large_animated.html
    - รายงานเหตุการณ์ปลาตายหลายพันตัวที่ สหรัฐอเมริกา
    18 มีนาคม
    -เหตุภูเขาไฟระเบิดที่ประเทศอินโดนีเซีย http://m.timeslive.co.za/?i=3692/0/0&artId=4144044&showonly=1
    - รายงานเกี่ยวกับดวงจันทร์ใหญ่สุดในรอบ 20 ปี (มองจากโลก) http://www.cnn.com/2011/US/03/18/nasa.moon/index.html?hpt=C2
    - รายงานการสั่นสะเทีอนที่รัฐฟอร์ริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา แต่ไม่ทราบว่าเป็นเพราะอะไร http://www.wftv.com/news/27239681/detail.html
    - รายงานปลาตายเป็นจำนวนมากที่สหรัฐอเมริกา
    19 มีนาคม
    - มีการเปลี่ยนแปลงของความหน่าแน่นประจุอย่างฉับพลันในเวลาประมาณ 2 UTC
    - แผ่นดินไหวขนาด 5.9 ริตเตอร์ เวลา 1:22 UTC ที่ประเทศญุึ่ปุ่น http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=214475
    - แผ่นดินไหวขนาด 6.0 ริตเตอร์ เวลา 9:56 UTC ที่ประเทศญี่ปุ่น http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=214533 ซึ่งอยู่ใกล้โรงงานนิวเคลียร
    http://www.smh.com.au/environment/quake-hits-south-of-stricken-plant-20110319-1c189.html
    - ภูเขาไฟระเบิดที่ประเทศอินโดนีเซีย ทำให้ต้องอพยพประชาชน 600 คน ออกจากพึ้นที่ http://www.sify.com/news/600-evacuated-as-Indonesian-volcano-erupts-news-ldtrEfdebhf.html?ref=content_widget_news
    - พายุสุริยะจากวันที่ 16 มีนาคม ยังมาไม่ถึงโลก
    20 มีนาคม
    - พายุสุริยะมาถึงโลกในเวลา 6 UTC อย่างเป็นทางการ เป็นผลจากการระเบิดทีดวงอาทิตย์ในวันที่ 16 มีนาคม แต่ผลกระทบต่อโลกอาจจะมีไม่มากเพราะปริมาณความหนาแน่นประจุต่ำ
    - แผ่นดินไหว 5.9 ริตเตอร์ เวลา 8:26 UTC ที่ประเทศฟิลิปปินส์ http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=214672
    แนวความเข้มอนุภาพประจุ ในช่วงเวลา 8:20 UTC
    21 มีนาคม
    - มีพลังงานประจุเกิดขึ้นจำนวนมากในช่วงต้นวันที่ 21 มีนาคม
    - ภูเขาไฟระเบิดที่ประเทศอินโดนีเซียเวลา 12:53 UTC http://hisz.rsoe.hu/alertmap/woalert_read.php?edis=VE– 20110311-29882-IDN
    - เกิดรายงานอุบัติเหตุทางเครื่องบินบ่อยครั้งในสหรัฐอเมริกา

    22 มีนาคม
    - แผ่นดินไหวขนาด 6.6 ริตเตอร์ เวลา 7:18 UTC ที่ประเทศญี่ปุ่น http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=214987
    - แผ่นดินไหว 6.6 ริตเตอร์ เวลา 9:44 UTC ที่ประเทศญี่ปุ่น
    http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=215002
    - นอกจากนั้นยังเกิดแผ่นดินไหวหลายครั้งในวันนี้
    - น้ำท่วมฉับพลันที่ รัฐวิกตอเรีย ประเทศ ออสเตรเลีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/woalert_read.php?edis=FF-20110322-30025-AUS
    - น้ำท่วมประเทศนิวซีแลนด์ http://hisz.rsoe.hu/alertmap/woalert_read.php?edis=FF-20110322-30020-NZL
    23 มีนาคม
    - ความหน่าแน่นของอนุภาคโปรตอนแกว่งตัวอย่างรุนแรง และปรับลดลงมาสู่ระดับปกติแล้วในเวลาต่อมา
    - ลมสุริยะเข้ามาที่โลก เนื่องมาจากสนามแม่เหล็กเปิด (Coronal hole) ที่ดวงอาทิตย์ในวันที่ 19-20 มีนาคม ที่ผ่านมา
    - รายงานอุกกาบาต ที่รัฐ North Carolina สหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/woalert_read.php?cid=30032&lang=eng
    - ภูเขาไฟระเบิดที่ประเทศอินโดนีเซีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/woalert_read.php?edis=VE-20110311-29882-IDN
    24 มีนาคม
    - โลกได้รับพายุสุริยะอย่างต่อเนืองตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม ที่ผ่านมา และ สูงสุดในวันที่ 19 และ 21 มีนาคม โดยดูจากกราฟการวัดรังสีคอสมิก
    - มีการแปรปรวนของความหนาแน่นประจุอย่างต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 21 มีนาคม ที่ผ่านมา
    - แผ่นดินไหวขนาด 6.7 ริตเตอร์ เวลา 13:55 UTC ที่ประเทศพม่า http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=215434
    - หิมะตกปนน้ำมันที่รัฐ Oregon สหรัฐอเมริกา http://www.therepublic.com/view/story/ee2f73d2755c4844a4ae1f5fc249f42f/OR–Oily-Snow/
    7.png

    25 มีนาคม
    - แผ่นดินไหวขนาด 6.5 ริตเตอร์ เวลา 11:36 UTC ที่ประเทศญี่ปุ่น http://www.emsc-csem.org/Earthquake/index.php
    - วิดิโอความเสียหายจากแผ่นดินไหวที่ประเทศพม่า
    - น้ำท่วมประเทศมาเลเซีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/woalert_read.php?cid=30068
    26 มีนาคม
    - น้ำท่วมจังหวัด พัทลุง http://hisz.rsoe.hu/alertmap/woalert_read.php?edis=FL-20110326-30078-THA
    - พายุลูกเห็บที่รัฐ Tennessee สหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/woalert_read.php?edis=HS-20110326-30083-USA
    - ปลาตายหลายร้อยตัวที่อ่าวเม็คซิโก http://www.local15tv.com/news/local/story/UPDATE-Hundreds-of-Fish-Dead-in-Gulf-Shores/xxZmZhzGj0Krb9Wb1141Ig.cspx?rss=217
    27 มีนาคม
    - น้ำท่วมจังหวัดนครศรีธรรมชาติครั้งใหญ่ที่สุดในรอบ 23 ปี http://news.mthai.com/headline-news/108362.html
    - ปริมาณความหนาแน่นประจุวัดโดยดาวเทียม ACE เพิ่มขึ้นในเวลา 16 UTC คาดว่าเป็นลางบอกเหตุว่าพายุสุริยะจากวันที่ 24-25 มีนาคม มาถึงโลกแล้วบางส่วน
    - แผ่นดินไหวขนาด 6.5 ริตเตอร์ เวลา 22:23 UTC ที่ประเทศญี่ปุ่น http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=215805
    - มีรายงานข่าวปลาดาวตายเป็นจำนวนมากที่ประเทศอังกฤษ http://thewatchers.adorraeli.com/2011/03/27/hundreds-of-dead-starfish-wash-up-on-talybont-beach-uk/
    28 มีนาคม
    - ยังมีความแปรปรวนของความหนาแน่นประจุในระดับต่ำ-ปานกลาง
    - เกิดอุบัติเหตุทางการบินบ่อยกว่าปกติในทวีปอเมริกาเหนือ http://hisz.rsoe.hu/alertmap/index2.php
    - พายุไซโคลนก่อตัวบริเวณประเทศนิวซีแลนด์ http://www.stuff.co.nz/world/south-pacific/4818309/Cyclone-Bune-brings-100kmh-gusts-to-Raoul-Island
    29 มีนาคม
    - พายุสุริยะมากระทบโลกอย่างเป็นทางการในเวลา 14 UTC โดยดูจากปริมาณความหนาแน่นประจุ ที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก
    - แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ริตเตอร์ เวลา 10:54 UTC ที่ประเทศญี่ปุ่น http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=216012
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 มิถุนายน 2013
  3. PShinex

    PShinex เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2012
    โพสต์:
    182
    ค่าพลัง:
    +382
    ขอบคุณมากครับ อ่านแล้วได้ความรู้เกี่ยวกับดาราศาสตร์เพิ่มอีกเยอะเลย ไม่นึกว่าระบบ
    แม่เหล็กของโลกจะลึกลับซับซ้อนขนาดนี้ แต่ก็ป้องกันรังสีต่าง ๆ จากอวกาศได้ดีมาก
     
  4. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    ครับคุณ PShinex ครับลึกลับซับซ้อนมากจน ผมว่าความรู้ทางวิชาการทุกวันนี้ยังเข้าใจสนามแม่เหล็กดลกยังไม่ถึงครึ่งเลยครับ พอเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น บอกได้คำเดียวครับ คอยดู
     
  5. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    บทความ เนื้อเรื่อง หรือ คำอธิบาย โดยละเอียด
    2013 ระบบสุริยะวิปริต อวสานโลก ? (ไทยโพสต์)
    26 December 2553 - 00:00

    อ้างอิง http://www.thaipost.net/node/32043

    ตามปฏิทินของชนเผ่ามายาที่ทำไว้เมื่อ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล ออกคำทำนายไว้ว่า ปี พ.ศ.2555 หรือ ค.ศ.2012 จะเป็นวันอวสานโลก ถึงขนาดทำเป็นหนังฉายให้คนทั้งโลกได้ดูสุดยอดมหาภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้น เมื่อถึงปี 2012 ผลจากความแปรปรวนของสุริยะจักรวาลและความผิดปกติของแสงอาทิตย์

    ด้านนักวิทยาศาสตร์ก็มีการศึกษาค้นคว้าเรื่องจักรวาลและอวกาศ ได้ค้นพบความวิปริตของระบบสุริยะจักรวาลที่ส่งผลต่อทั้งโลก ทั้งพายุฝน น้ำท่วม น้ำแล้ง แผ่นดินไหว สึนามิ มีผู้สังเวยชีวิตมหาศาล แล้วตอนนี้ที่หิมะและอากาศเย็นยะเยือกกระหน่ำยุโรป ก็คาดเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก

    ปี 2012 จะเป็นวันอวสานโลกจริงตามคำทำนายที่ชนเผ่ามายาระบุไว้หรือไม่....ไม่มีใครรู้

    แต่ ดร.ก้องภพ อยู่เย็น ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมการออกแบบเครื่องตรวจจับคลื่น ไมโครเวฟอินฟาเรด องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ หรือองค์การนาซา เจ้าของรางวัลวิศวกรดีเด่นจากนาซา ในฐานะผู้พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในระบบตรวจจับพลังงานคลื่นไมโครเวฟจากนอกโลก เป็นนักวิทยาศาสตร์ไทยอีกคนที่ออกมาเตือนให้ทุกคนทราบถึงความปั่นป่วนของ ระบบสุริยะจักรวาลที่จะส่งผลกระทบกระเทือนต่อโลกโดยตรง และที่งานสัมมนาเชิงวิชาการเรื่อง "เจาะลึกภัยพิบัติ...พลิกวิกฤติให้เป็นทางรอด"

    เขาบอกว่า จากการศึกษาไม่ใช่ ปี 2012 แต่เป็นปี 2013 ที่โลกจะเผชิญหายนะสูงสุด แม้จะไม่ตรงกับวันสิ้นโลกในปฏิทินของชาวมายา แต่ก็ได้ความว่า อีก 3 ปี พวกเราไม่รอดแน่ เป็นข้อมูลที่น่าตกใจ

    ดร.ก้องภพ ให้ดูภาพเกี่ยวกับโลก ทางช้างเผือก ระบบสุริยะ และกาแล็กซี่ของโลก พร้อมระบุสิ่งที่จะพูดต่อจากนี้เป็นความเห็นส่วนตัวจากการศึกษาและรวบรวม หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ไม่เกี่ยวข้องกับองค์การนาซาที่กำลังทำงานอยู่ และ เขาบอกว่า ปี 2556 หรือ ค.ศ.2013 เป็นปีที่จะเกิดโนวาการระเบิดที่มีพลังงานมากที่สุด มันจะปลดปล่อยพลังงาน มหาศาล เพราะมีแนวโน้มว่าปฏิกิริยาพระอาทิตย์จะขึ้นสูงสุดในต้นปี 2013 นี้ และเกิดการพลิกกลับขั้วของแกนแม่เหล็กโลก ทำให้เกิดทั้งความร้อนสูงและการหดตัวของระบบสุริยะ

    ช่วงนั้นดวงอาทิตย์โคจร ตัดผ่านทางช้างเผือกในทุก ๆ 33-35 ล้านปีพอดี ซึ่งทางช้างเผือกมีมวลของดาว 2,000-4,000 ล้านดวง หากเกิดการบีบหดตัว ดวง ดาวและอุกกาบาตบางส่วนจะกระเด็นเข้ามาในระบบสุริยะ ซึ่งเมื่อ 35 ล้านปีที่ แล้วเป็นช่วงที่มีอุกกาบาตเข้ามาเยอะ แต่ความเสี่ยงจะมากกว่า 10 เท่า ในปี 2013

    "ตลอดระยะเวลา 10-20 ปีที่ผ่านมา นักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซียทำงานองค์การอวกาศรัสเซียเทียบเท่านาซา สำรวจระบบสุริยะ พบมีการเปลี่ยนแปลงขอบด้านนอกสุดของระบบสุริยะ โดยวัดปริมาณความสว่างสูง ขึ้น 1,000% มีอะไรบางอย่างผิดปกติเกิดขึ้น เชื่อว่ามีพลังงานบางอย่างเข้ามาในระบบสุริยะ นาซาเองก็พบการเปลี่ยนแปลง เช่นกัน ภาพถ่ายจากดาวเทียม Imax ที่โคจรรอบโลก ปรากฏพลังงานที่เล็ดลอดเข้ามาในะบบสุริยะ เดินทางด้วยความเร็วสูง แนวที่มี พลังงานรั่วใกล้กับทางช้างเผือก แล้วยังค้นพบว่า เมื่อวัดแกนพลังงานนี้มี การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาในระยะ 6 เดือน ไม่ใช่ลักษณะค่อยเป็นค่อยไป นี่เป็นสิ่งที่นอกเหนือการคาดการณ์ของนักวิทยาศาสตร์"

    ดร.ก้องภพ ให้ข้อมูลอีกว่า นอกจากรายงานของนาซายืนยัน การบินอวกาศยุโรปยังมีภาพแบบร่างพลังงานสนามแม่เหล็กขนาดใหญ่และความร้อนสูง มากเคลื่อนตัวเข้าหาดวงอาทิตย์ แล้วยังมีข่าวอย่างเป็นทางการระบุการบีบอัดของชั้นขอบนอกระบบสุริยะ จะทำให้พลังงานรังสีคอสมิกเข้ามาในระบบสุริยะมากเป็นพิเศษ ส่งผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศบนโลก

    นอกจากนี้ มีหลักฐานแสดงให้เห็นดวงอาทิตย์มีปฏิกริยาสูงสุดในรอบ 8,000 ปี และการที่นาซาส่งดาวเทียมโคจรที่ขอบด้านนอกเพื่อวัดความดันลมสุริยะช่วงปี 2547-2551 พบว่า ความเร็วลมสุริยะลดลงมาก ผลจากพลังงานบางอย่างเข้ามาบีบอัดลมสุริยะให้ลดลง สอดรับกับข่าวล่าสุดยืน ยันมีการเปลี่ยนแปลงด้านนอกสุดของระบบสุริยะ ส่งผลให้ความเร็วลมสุริยะลดลง 20 กิโลเมตรต่อวินาที ตั้งแต่เดือนสิงหาคม ปี 2550 เป็นต้นมา และในตอนนี้ดาวเทียมวัดความเร็วลมสุริยะพบว่าลดลงถึง 0 แล้ว เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเร็วกว่าที่คาดการณ์ถึง 4 ปี

    "ดวงอาทิตย์มีวัฏจักร ทุก ๆ 11 ปี จะมีการพลิกกลับขั้วของสนามแม่เหล็กและเป็นช่วงที่เกราะป้องกันดวงอาทิตย์ ต่ำสุด คาดการณ์ว่าจะเกิดปี 2013 หรืออีก 3 ปีข้างหน้า ส่งผลให้เกิดภัยพิบัติรุนแรง จากการสำรวจของดาวเทียม ช่วงที่ดวงอาทิตย์มีปฏิกิริยาสูงสุด ทั้งฝุ่นละอองและอุกกาบาตเข้ามามากเป็นพิเศษ มีผลกระทบต่อดาวเคราะห์ทุกดวง" วิศวกรอาวุโสไทยองค์การนาซา กล่าว

    เขายังให้ภาพความปั่นป่วนและเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับดาวเคราะห์ในระบบ สุริยะถ้วนหน้า ตั้งแต่ดาวพลูโต ที่พบความกดอากาศเพิ่มขึ้น 300 เปอร์เซ็นต์ ทั้งที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากที่สุด ภาพดาวเนปจูนแสดงให้เห็นความสว่างจ้าของชั้นบรรยากาศเพิ่มขึ้น 40 เปอร์เซ็นต์ ดาวยูเรนัสก็เช่นเดียวกัน ความสว่างเพิ่มขึ้น กลุ่มเมฆมาก และมีการพลิกกับขั้วของสนามแม่เหล็ก ดาวเสาร์มีการเปลี่ยนแปลงในแนวเส้นศูนย์สูตรและเกิดปรากฏการณ์ออโรรา คือ มีแสงบนท้องฟ้าตอนกลางคืน แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กอย่างมาก ดาวพฤหัสก็สว่างขึ้นถึง 200 เปอร์เซ็นต์ และร้อนจัดขึ้น

    ส่วนดาวอังคารเกิดสภาวะโลกร้อน น้ำแข็งละลายกลายเป็นน้ำ มีพายุ มีการก่อตัวของเมฆในชั้นบรรยากาศดาวอังคาร ดาววีนัสสว่างขึ้น 2,500 เปอร์เซ็นต์ ในระยะเวลา 30 ปี แม้แต่ดาวพุธก็ค้นพบสนามแม่เหล็กสูงมาก และเกิดน้ำแข็ง มีฝุ่นละอองที่พัดออกมา ส่วนหนึ่งมาจากความดันลมสุริยะลดลง

    สำหรับ ดาวเคราะห์โลกที่มนุษย์อาศัยก็เปลี่ยนแปลงมาก วิศวกรอาวุโสไทยจากองค์การนาซา เปิดเผยว่า จากการวัดปริมาณรังสีคอสมิกมีสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ เมื่อ 50 ปีที่ผ่านมา นักวิทยาศาสตร์คาดการณ์ปริมาณจะลดลง แต่ปรากฏว่าไม่เป็นเช่นนั้น

    "รังสีคอสมิกถ้ารับปริมาณมาก สิ่งมีชีวิตเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ รวมถึงเกิดการกลายพันธุ์ เป็นโรคมะเร็ง แต่ไม่ต้องกังวลมาก การเปลี่ยนแปลงดีเอ็นเอเป็นเรื่องที่เคยเกิดขึ้นในอดีต นอกจากนี้ ตั้งแต่ปี 2540 เป็นต้นมา ปริมาณฝุ่นละอองที่เข้ามาในโลกมีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และจะสูงขึ้นอีก 13 เท่าตัว ในปี 2556 ปริมาณอุกกาบาตที่วัดได้มีสูงมากในปี 2541 อาจเพราะมีเทคโนโลยีตรวจจับวัตถุหรือมีอุกกาบาตเข้ามาเยอะขึ้น ฝนดาวตกก็เพิ่มขึ้น ยืนยันปรากฏการณ์นี้แสดงว่ามีวิกฤติเข้ามาในโลกมากขึ้น"

    ดร.ก้องภพ กล่าวต่อว่า อีกความผิดปกติที่เกิดขึ้นคือ การเปลี่ยนแปลงความดันอากาศรอบนอก ธรรมดาเกิดขึ้นทุก 11 ปี แต่เมื่อวัดครั้งสุดท้ายผิดไปจากเดิม 28 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ชั้นบรรยากาศลดต่ำลง ส่งผลให้โลกของเราไวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศนอกโลก เช่นเดียวกับภาพจากดาวเทียมวัดสนามแม่เหล็กรอบนอกแสดงให้เห็นรูรั่ว ที่มี อนุภาคและพลังงานหลุดลอดเข้ามาส่งผลต่อสภาพอากาศโลก ขั้วโลกเหนือน้ำแข็งละลาย ขั้วโลกใต้หิมะน้ำแข็งเพิ่มขึ้น

    เวลานี้มีรายงานวิจัยมากขึ้น ชี้สนามแม่เหล็กโลกส่งผลกระทบต่อรังสีคอสมิกที่เข้ามาในชั้นบรรยากาศ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพเมฆและก่อตัวของเมฆ นี่เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและหลีกเลี่ยงไม่ได้ รวมถึงความถี่ในการ เกิดแผ่นดินไหวส่งผลกระทบต่อโลกมากเป็นประวัติการณ์ ปี 2553 ทำสถิติสูงสุดในประวัติศาสตร์ นอกจากนี้ เราเห็นความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ความร้อนที่เกิดขึ้นบนโลก ทั้งอุณหภูมิโลกที่ร้อนขึ้น ความสว่างของดวงอาทิตย์ ทุกอย่างเปลี่ยนแปลงไป ในทางเดียวกัน ทั้งยังมีข้อมูลสถิติปี 2552-2553 ระบุความสูญเสียจากภัยพิบัติเพิ่มขึ้นกว่า 3 เท่า

    ปี 2556 ที่ ดร.ก้องภพ คาดการณ์ว่าดวงอาทิตย์จะมีปฏิกิริยาสูงสุด จะส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อดาวเทียม อุกกาบาตหรือหินนอกโลกอาจทำให้ดาวเทียมเสียหาย มนุษย์มีความเสี่ยงจากการเดินทางด้วยเครื่องบิน เพราะว่าจะได้รับรังสีแกมมา และคอสมิกปริมาณมาก รวมถึงเครื่องบินตก มีข้อมูลว่า 2-3 ปีมานี้ ปริมาณการส่งดาวเทียมไปนอกโลกจากทั่วโลกลดลง ก็ขึ้นกับการตี ความ ปี 2553 เป็นเพียงเริ่มต้นปฏิกิริยาสูงสุดของดวงอาทิตย์ อีก 3 ปีข้างหน้าจะรุนแรงขึ้น

    ย้อนไปเมื่อวันที่ 2 กันยายน ปี 2402 มีผู้บันทึกไว้ว่าเกิดปฏิกิริยาพระอาทิตย์ครั้งใหญ่ ปีนั้นแสงอาทิตย์สว่างจ้า ระบบโทรเลขทำงานโดยอัตโนมัติ คนใช้โทรเลขถูกไฟฟ้าช็อตจากพลังงานที่เข้ามา ปัจจุบันผลกระทบจะสูงกว่าครั้งนั้น อาจ เกิดไฟฟ้าดับทั่วโลกหรืออุปกรณ์อิเล็กโทรนิกใช้การไม่ได้ ระบบหม้อแปลงไป จนถึงสายส่งเสียหาย สภาพอากาศแปรปรวน พายุถล่ม น้ำท่วม รวมถึงแผ่นดินไหว ต้องเตรียมพร้อมรับมือสถานการณ์และหาวิธีอยู่รอด

    "พื้นที่เสี่ยงกับปฏิกิริยานี้ คือ ขั้วโลก สหรัฐ แคนาดา ประเทศในแถบเส้นศูนย์สูตรเสี่ยงน้อยกว่าแต่ไม่ใช่ไม่เกิดขึ้น ไม่อยากให้ ประมาท พม่าย้ายเมืองหลวงไม่มีเหตุผล เนเธอร์แลนด์สร้างบ้านลอยน้ำ เมืองซานฟรานซิสโก สหรัฐ สร้างเมืองตัวอย่างลอยน้ำ คาดว่าแล้วเสร็จปี 2013 หรือปี 2555 ทางการนอร์เวย์ย้ายศูนย์บัญชาการทหารลงใต้ดินเมื่อเดือนกันยายนที่ผ่านมา รัสเซียสร้างที่หลบภัยใต้ดิน 5,000 จุด เสร็จในปี 2012 นี่คือสิ่งที่แต่ละประเทศเตรียมการไว้ แต่ไม่รู้ว่าเพราะเหตุใด" ดร.ก้องภพ กล่าวโดยไม่สรุปใด ๆ เพราะต้องการทำหน้าที่ให้ความรู้จากข้อมูล วิทยาศาสตร์ที่ได้ศึกษาเพื่อสร้างความตระหนักในเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น ส่วนจะเชื่อหรือไม่ขึ้นกับวิจารณญานของแต่ละบุคคล

    อย่างไรก็ตาม ดร.ก้องภพ ฝากทิ้งท้ายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเตรียมการรับมือภัยพิบัติที่จะมีขนาด ความรุนแรงแตกต่างกัน นโยบายของภาครัฐควรเน้นการป้องกันเพื่อลดการสูญเสีย ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา รัฐจะแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เมื่อประชาชนเดือดร้อนมาก อยากให้แก้ที่ต้นเหตุ และใช้เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพตรวจจับสิ่งผิดปกติ มีกระบวนการแจ้งเตือนล่วงหน้า รวมถึงสร้างสถานที่หลบภัย ซ้อมอพยพบนเส้นทางหนีภัย อีกมาตรการหนึ่งที่สำคัญ เป็นการให้ความรู้และสร้างความเข้าใจกับประชาชนทั่วไปกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน

    ส่วนคนทั่วไปต้องเรียนรู้พึ่งพาตัวเอง นอกจากหวังพึ่งรัฐที่อาจช่วยเหลือได้ไม่ทันท่วงที เช่น สร้างคลังอาหารสำรองในพื้นที่ ปลูกพืชผักสวนครัว รวมถึงสำรองอาหารและอุปกรณ์ยังชีพที่จะใช้เอาตัวรอดในเหตุฉุกเฉิน 3-5 วัน ระยะยาวเห็นว่าทำตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางที่เหมาะสมและเกิด ประโยชน์ที่สุด

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 10 มิถุนายน 2013
  6. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    ผมคัดลอกข้อความข้างต้นมาให้ เพื่อมาวิเคราะห์กันตรงข้อความต่อไปนี้ครับ

    "ตลอดระยะเวลา 10-20 ปีที่ผ่านมา นักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซียทำงานองค์การอวกาศรัสเซียเทียบเท่านาซา สำรวจระบบสุริยะ พบมีการเปลี่ยนแปลงขอบด้านนอกสุดของระบบสุริยะ โดยวัดปริมาณความสว่างสูง ขึ้น 1,000% มีอะไรบางอย่างผิดปกติเกิดขึ้น เชื่อว่ามีพลังงานบางอย่างเข้ามาในระบบสุริยะ นาซาเองก็พบการเปลี่ยนแปลง เช่นกัน ภาพถ่ายจากดาวเทียม Imax ที่โคจรรอบโลก ปรากฏพลังงานที่เล็ดลอดเข้ามาในะบบสุริยะ เดินทางด้วยความเร็วสูง แนวที่มี พลังงานรั่วใกล้กับทางช้างเผือก แล้วยังค้นพบว่า เมื่อวัดแกนพลังงานนี้มี การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาในระยะ 6 เดือน ไม่ใช่ลักษณะค่อยเป็นค่อยไป นี่เป็นสิ่งที่นอกเหนือการคาดการณ์ของนักวิทยาศาสตร์"

    ซึ่งจากเฟสบุ๊กของอาจารย์ปิยะชีพที่บอกว่าถ้าขั้วสนามแม่เหล็กเหนือ มาถึง 40 องศา ก็อาจเกิดภัยบิบัติแบบแรง ถ้าดูสถิติทั่วๆ ไป ในการเกิด pole shift อาจไม่ถูกต้องเพราะในขณะนี้มีปัจจัยเสริมคือ พลังงานจากนอกโลก ซึ่งในเฟสของอาจารย์บอกว่า พลังงานจากนอกโลกตัวนี้ ได้ช่วยพัดแรงประทุจากดวงอาทิตย์ให้ไม่โดนโลก แต่มีข้อเสียคือพลังงานจะรุนแรงมากซึ่งทะลุเข้าไปในแกนโลก ดังนั้นการดู pole shift จะต้องดูแยกเป็น 2 ช่วง คือการเกิด pole shift ก่อนจะมีพลังงานจากนอกโลกเข้ามา และ การเกิด pole shift หลักจากมีพลังงานจากนอกโลกเข้ามาแล้ว รู้สึกข้อมูลส่วนหลังจะมีการปกปิดหรือเปล่า ผมไม่ทราบครับ
     
  7. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    มีภาพมาฝาก...ครับ (จาก War Room และ EarthChangeMedia)

    [​IMG]


     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Earthchange.jpg
      Earthchange.jpg
      ขนาดไฟล์:
      74.7 KB
      เปิดดู:
      1,211
  8. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    ขอบคุณครับ คุณ zz
     
  9. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    อะไรทำให้เมฆลอยต่ำลง ทฤษฎีการเกิดเมฆแบบเก่าและแบบใหม่ ใครถูก? (ข้อมูลจาก เว็บไซต์ ติดตามภัยพิบัติและหาคำตอบ)
    Posted by drjoop on 28/02/2012
    จากข่าวที่เป็นที่ถกเถียงกันเมื่ออาทิตย์ที่แล้ว เมื่อทีมวิจัยของประเทศนิวซีแลนด์ได้ศึกษาข้อมูลจากยานสำรวจ terra ของ NASA พบว่า เมฆระดับสูงมีการลดระดับลงประมาณ 1 ม.ทุกๆปีตั้งแต่ปี ค.ศ.2000 เป็นต้นมา จึงทำให้หลายคนสงสัยว่าเกิดอะไรขึ้นกับระบบเมฆของโลกเรา แล้วอะไรที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์นี้ได้ จึงเป็นโอกาสดีที่จะได้เขียนถึงเรื่องเมฆสักหน่อยครับ เพราะจริงๆแล้ว เมฆมีความสำคัญต่อระบบภูมิอากาศของโลก และเป็นตัวควบคุมอุณหภูมิของโลกให้อยู่ในสมดุลย์ได้
    ก่อนที่จะไปถึงเรื่องการเกิดเมฆ จากความรู้เดิมๆตั้งแต่สมัยเด็กๆเราถูกสอนมาว่า เมฆเป็นวัฐจักรของน้ำ ที่เกิดจากการระเหยของน้ำที่พื้นดิน เมื่อลอยขึ้นไปเจอกับอากาศเย็นที่อยู่ข้างบนจะเกิดการควบแน่นและรวมตัวกันขึ้นเกิดเป็นเมฆขึ้นมาในรูปร่างต่างๆกัน
    จากวิดีโอจะเป็นการทดลองที่เราถูกสอนกันมาตั้งแต่เด็กๆ ว่าแต่ว่าในสถานการณ์จริง เมฆเกิดขึ้นอย่างนี้จริงหรือ?

    1.jpg

    ภาพจาก Part One: The Instructional Role of Illustrations
    ในสถานการณ์จริง เราพบการเกิดเมฆจากการสังเกตปรากฏการณ์ตามธรรมชาติเท่านั้น และพยายามสร้างทฤษฎีขึ้นมา จนกระทั่งมีการทดลอง 2 อย่างที่ขอนำมากล่าวถึง ซึ่งเปลี่ยนมุมมองของการเกิดเมฆ และทำให้สมมติฐานเดิมๆถูกหักล้างไป เพราะการทดลองนี้สามารถสร้างเมฆได้ในระดับของชั้นบรรยากาศ ไม่ใช่แค่ในขวด การทดลองสองที่ว่านี้คือ
    1. SKY experiment โดย Henrik Svensmark นักฟิสิกส์แห่งสถาบันวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์และชั้นบรรยากาศโลกของสวีเดน The SKY experiment - DTU Space
    2.CLOUD projects โดย CERN CLOUD Home
    เนื่องจากทั้งสองการทดลองมีข้อมูลออกมามากมายครับ โดยเฉพาะของ Henrik Svensmark ที่เสนอทฤษฎีนี้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1997 และมีงานวิจัยและตีพิมพ์ต่อเนื่องเลยขออนุญาตเล่าย่อๆตามความเข้าใจของผมก็แล้วกัน
    I. SKY experiment
    SKY experiment พบความสัมพันธ์ของรังสีคอสมิคต่อการเกิดเมฆในระดับต่ำ โดยเฉพาะต่ำกว่า 3,000 ม. จากระดับน้ำทะเลปานกลาง ซึ่งเมฆบริเวณนี้จะช่วยสะท้อนความร้อนจากแสงอาทิตย์และทำให้ความร้อนที่เกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศของโลกมีการระบายออกสู่อวกาศมากขึ้นทำให้โลกเราเย็นลง ซึ่งจากการศึกษาปริมาณของรังสีคอสมิคที่ลงมายังโลกพบว่าจะเกิดการแตกตัวออกมาจนกระทั่งเหลือ muon ซึ่งเป็นอิเลคตรอนพลังงานสูงที่ไม่สามารถถูกทำให้เปลี่ยนแปลงโดยสนามแม่เหล็กของโลกได้ โดยการศึกษา SKY สามารถดักจับ muon และพบการรวมตัวของกลุ่มอนุภาคเมฆขนาดจิ๋วขึ้น ซึ่งเมื่อรวมกับโมเลกุลของซัลเฟอร์ไดออกไซด์และน้ำแล้ว สามารถก่อตัวเป็นเมฆขึ้นมาได้

    2.jpg

    นอกจากนี้ Svensmark ยังได้ทำการศึกษาความสัมพันธ์ของอุณหภูมิบนโลกกับระดับรังสีคอสมิคที่ลงมายังโลกด้วยระดับของ เบอริลเลียม-10 ในชั้นน้ำแข็งแอนตาร์คติก และพบความสัมพันธ์ของปริมาณรังสีคอสมิคและระดับอุณหภูมิบนโลกอย่างชัดเจน (ภาพจาก http://dahuang.dhxy.info/ClimateChange/j.1468-4004.2007.48118.x.pdf)

    3.jpg

    ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่ระดับน้ำทะเล (สีแดง) เมื่อเทียบกับปริมาณรังสีคอสมิคที่วัดจากชั้นน้ำแข็ง (สีน้ำเงิน)(ภาพจาก http://dahuang.dhxy.info/ClimateChange/j.1468-4004.2007.48118.x.pdf)

    4.jpg

    แสดงความสัมพันธ์ของเมฆในระดับสูง>6.5 กม. (บน สีน้ำเงิน) กลาง 3.2-6.5 กม. (กลาง สีน้ำเงิน) และระดับต่ำกว่า 3.2 กม. (ล่าง สีน้ำเงิน) กับปริมาณรังสีคอสมิค จะพบว่าเมฆระดับล่างจะมีความสัมพันธ์กับรังสีคอสมิคชัดเจนทีเดียว (ภาพจาก http://dahuang.dhxy.info/ClimateChange/j.1468-4004.2007.48118.x.pdf)
    แต่ที่สำคัญที่สุดที่ Svensmark พยายามชี้ให้เราเห็นคือ ปรากฏการณ์นี้ไม่ได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ หรือตามความน่าจะเป็นที่กล่าวกันว่ามีการระเบิดของ Supernova ทุกๆ 50 ปีในแกแลคซี่ของเราซึ่งเป็นแหล่งของรังสีคอสมิค Svensmark ยังมองไปที่การโคจรของระบบสุริยะของเราไปตามแขนของแกแลคซี่ทางช้างเผือกด้วย โดยพบว่าการเคลื่อนที่ของระบบสุริยะเป็นไปตามรูป (Credit: Mikhail V. Medvedev, Adrian Melott/University of Kansas จบเรื่องนี้จะพยายามต่อด้วยงานวิจัยของทั้งสองท่านนี้ครับ เกี่ยวกับวัฏจักรของการสูญพันธุ์ของโลกทุกๆ 62 ล้านปี)

    5.jpg

    โดยดวงอาทิตย์จะพาระบบสุริยะของเราเคลื่อนไปตามแขนต่างๆของทางช้างเผือกตลอดเวลาที่ผ่านมา ซึ่งขณะนี้เรากำลังเคลื่อนที่จากแขน Sagitarius-carina ไปยังแขน Perseus โดยกำลังเคลื่อนที่ตัดผ่านแขนงย่อย Orion อยู่ (ภาพจาก http://dahuang.dhxy.info/ClimateChange/j.1468-4004.2007.48118.x.pdf)

    6.jpg

    โดยในการศึกษาของ Svensmark ได้ย้อนกลับไปตั้งแต่เมื่อ 200 ล้านปีก่อน จนถึงปัจจุบัน และพบความสัมพันธ์ระหว่างระดับรังสีคอสมิคที่สูงขึ้นขณะที่ระบบสุริยะของเรากำลังเคลื่อนที่ผ่านแขนของกาแลคซี่ และสัมพันธ์กับการเกิดยุคน้ำแข็งระหว่างนั้น (ในงานวิจัยของดร. Merlott จะพบความสัมพันธ์กับการเกิดการสูญพันธุ์บนโลกครั้งใหญ่ด้วย ซึ่งจะกล่าวในโอกาสต่อไป)

    7.jpg

    ภาพนี้จะแสดงความเปลี่ยนแปลงระหว่างความหนาแน่นของกาแลคซี่ทางช้างเผือกเปรียบเทียบระหว่างการโคจรนอกแขนกาแลคซี่และภายในแขนกาแลคซี่ และระยะเวลาในการโคจรผ่านแขนต่างๆ

    8.jpg

    ภาพสุดท้ายของงานวิจัย SKY experiment เป็นการสรุปให้เห็นภาพว่า เมื่อใดที่ระบบสุริยะของเราเคลื่อนที่เข้าสู่ในระนาบแกนของกาแลคซี่ทางช้างเผือก โลกของเราจะได้รับรังสีคอสมิคสูงขึ้น ซึ่งเป็นผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของโลกจนอาจเกิดยุคน้ำแข็งในช่วง 200ล้านปีที่ผ่านมาได้
    II. CLOUD project
    ในงานทดลองชิ้นที่สองหรือ CLOUD project เป็นโครงการทดลองที่มีขนาดใหญ่กว่า SKY มาก มีการสร้างถังสเตนเลสเพื่อบรรจุอากาศบริสุทธิ์ ไอน้ำ แอมโมเนีย และซัลเฟอร์ไดออกไซด์เข้าไปต่างกันที่ใน CLOUD project มีการใช้เครื่องเร่งอานุภาคสร้างรังสีคอสมิคเพื่อจำลองการตกกระทบกับชั้นบรรยากาศขึ้นมา
    ซึ่งผลจากการศึกษาของ CLOUD project ได้มีการตีพิมพ์ในวารสาร Nature เมื่อปี 2011 ซึ่งตัวฉบับจริงสามารถอ่านได้ที่ CLOUD Home ซึ่งผมขอสรุปเป็น infographic ง่ายๆดังภาพแล้วกันครับ


    9.jpg

    จากภาพจะเห็นว่า เมื่อรังสีคอสมิคผ่านมายังชั้นบรรยากาศของโลกแล้ว จะทำปฏิกิริยากับโมเลกุลของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แอมโมเนีย และน้ำ จนมีการรวมตัวขึ้นเป็น cluster และ aerosol particle ตามลำดับ ก่อนที่จะรวมตัวเป็นแกนของการเกิดเมฆในลำดับถัดไป
    ผลจากการทดลอง SKY และ CLOUD นี้ทำให้เราพบความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิของโลก รังสีคอสมิค และปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์ได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น โดยเมื่อไรที่ดวงอาทิตย์มีปฏิกิริยาสูง ลมสุริยะจะทำหน้าที่เป็นเกราะป้องกันให้กับระบบและสะกัดรังสีคอสมิคไม่ให้เข้ามาสู่ภายในระบบมากเกินไป แต่เมื่อไรที่ดวงอาทิตย์มีปฏิกิริยาต่ำก็จะมีปริมาณรังสีคอสมิคเข้ามาในระบบสูง และทำให้เกิดเมฆในระดับต่ำในชั้นบรรยากาศโลก และเป็นผลให้อุณหภูมิโลกเย็นลง และเมื่อใดที่ดวงอาทิตย์พาเราเข้าสู่ระนาบเดียวกับแขนกาแลคซี ซึ่งมีปริมาณรังสีคอสมิคหนาแน่นกว่า อาจเกิดยุคน้ำแข็งตามมาได้เหมือเช่นที่เคยเกิดในช่วง 200 ล้านปีที่ผ่านมาเมื่อเราโคจรผ่านแขนกาแลคซี่ 2 ครั้ง (ภาพด้านล่างเป็นภาพจำลองของฝักสุริยะ หรือ heliosphere ของเราซึ่งอาศัยข้อมูลจากยานสำรวจ voyager 1 และ voyager 2 ซึ่งอยู่ที่บริเวณ heliopause หรือประมาณระยะทาง 100 AU จากดวงอาทิตย์)

    10.jpg

    ในความเห็นของผม สิ่งที่นักวิทยาศาสตร์นิวซีแลนด์ค้นพบจากข้อมูลดาวเทียม Terra ของ NASA ไม่น่าเป็นการลอยตัวต่ำลง แต่เป็นการก่อตัวของเมฆในระดับล่างซึ่งสัมพันธ์กับปริมาณของรังสีคอสมิกที่เพิ่มขึ้นตั้งแต่หลัง Solar cycle ที่ 23 ตั้งแต่ปีค.ศ. 2000 ที่ผ่านมา

    11.jpg

    จากเวปไซด์ http://science.nasa.gov/science-new...ึ้นมากกว่าระดับสูงสุดที่เราเคยวัดได้มาก่อนถึง 19.5% ในปี 2009 และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นอีกเรื่อยๆ

    12.jpg

    จากสัญญาณและข้อมูลที่กล่าวมาเบื้องต้นนี้ จะเห็นได้ว่า ระบบสุริยะของเรากำลังเดินทางใกล้ถึงจุดวิกฤตอีกครั้งหนึ่งแล้ว และมีสัญญาณบอกเหตุโดยเฉพาะการเกิดการเสียชีวิตหมู่ของสิ่งมีชีวิตทั่วโลกถูกรายงานตลอดเวลา ในตอนต่อไปเราจะมาดูการศึกษาของ ดร. Merlott เกี่ยวกับปริมาณรังสีคอสมิคกับการเกิดรอบของการสูญพันธ์ุครั้งใหญ่ของโลกทุกๆ 62 ล้านปีกัน
     
  10. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    ข้อมูลจาก เว็บไซต์ ติดตามภัยพิบัติและหาคำตอบ
    ปัญหาที่เกิดกับ CLOUD project
    Posted by drjoop on 29/02/2012
    จริงๆเมื่อวานนี้ผมรีบสรุปห้วนๆไปหน่อยเพราะยังไม่ได้เล่าถึงผลกระทบที่ตามมาหลังจากผลการทดลอง CLOUD ถูกตีพิมพ์ออกไป ซึ่งทีมนักวิทยาศาสตร์ในทีม CLOUD ถูกเบรคการสรุปต่อยอดของโครงการนี้โดยผู้อำนวยการทั่วไปของ CERN Rolf-Dieter Heuer ในทันที ซึ่งบทสัมภาษณ์ในภาษาเยอรมันที่ Welt online สามารถเข้าไปดูได้ที่ Antimaterie : Wie "Illuminati" den Cern-Forschern geholfen hat - Nachrichten Wissenschaft - DIE WELT
    Rolf-Dieter Heuer ผู้อำนวยการทั่วไปของ CERN
    ส่วนคำสัมภาษณ์ขอนำมาจากเวป “No, you mustn’t say what it means!” | Calder's Updates ซึ่งแปลเป็นภาษาอังกฤษมาแล้วนะครับ
    โดย Heuer ได้กล่าวถึงผลของ CLOUD ว่า “แน่นอนว่าผลการศึกษา (CLOUD)ทำให้เกิดความเข้าใจใหม่ๆด้านการเกิดเมฆ ในธรรมชาติมัองค์ประกอบอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการเกิดเมฆ ตั้งแต่อุณหภูมิ ความชื้น การเจือปนในอากาศ และรวมไปถึงรังสีคอสมิค ในการทดลอง CLOUD นี้เราได้ศึกษาผลกระทบของรังสีคอสมิคต่อการเกิดเมฆ โดยการใช้รังสี (ในความหมายคือ อนุภาค) ซึ่งถูกส่งมาจากเครื่องเร่งอนุภาคและเมื่อยิงเข้ามาในห้องทดลองที่ถูกออกแบบเป็นพิเศษในภาวะแวดล้อมที่ถูกควบคุมไว้ และพบการก่อตัวของก้อนเมฆซึ่งเป็นผลของรังสีและอนุภาค ผลของการศึกษานี้จะถูกตีพิมพ์ในไม่ช้า ผมได้ขอร้องให้เพื่อนร่วมงานวิจัยนี้ได้ตีพิมพ์ผลการศึกษาตรงไปตรงมา แต่ห้ามแปลความผลของการศึกษานี้ ซึ่งอาจส่งผลต่อการเมืองระดับสูงซึ่งกำลังถกเถียงกันในเรื่องการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ คงบอกได้เพียงว่ารังสีคอสมิคเป็นเพียงหนึ่งในองค์ประกอบหลายๆตัวที่ทำให้เกิดเมฆ
    ซึ่งจากบทสัมภาษณ์นี้ เราจะทราบว่าเบื้องหลังของ CERN นั้นเต็มไปด้วยการเมือง และผู้กุมอำนาจระดับสูงอยู่ ซึ่งหากผลการศึกษานี้ถูกตีพิมพ์และแปลความอย่างถูกต้องแล้ว นโยบายด้านการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศโลกจะถูกเปลี่ยนแปลงไปทันที โดยที่ปฏิกิริยาจากดวงอาทิตย์และรังสีคอสมิค จะเป็นผู้กำหนดและอธิบายการเป็นไปของโลก ไม่ใช่เรื่องของ green house effect หรือ man made climate changes อีกต่อไป

    ***************************************

    ผลขอลงบทความนี้เพื่อให้ทุกท่านทราบว่าสาเหตุการเกิดเมฆ มีสาเหตุหนึ่งมาจากรังสีคอสมิก หรือก็มาจากพลังงานจากการระเบิดของดวงอาทิตย์ ซึ่งก็เป็นข้อมูลหนึ่งที่รองรับว่าการเกิด solar flare ทำให้ไปเร่วงให้เกิดพายุแรงขึ้น หรือมากขึ้น
     
  11. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    ช่วงนี้มีการวิจารณ์ข้อมูลการเกิด pole shift จากเฟสบุ๊กอาจารย์ปิยะชีพกันมาก และไปดู youtube กัน


    Piyacheep S.Vatcharobol
    Jun 3 near Bangkok ·
    เตือนภัยสูงสุดสีแดง ขั้วสนามแม่เหล็กโลกเลื่อนลงใต้แล้ว ๑๖๑ ไมล์

    ระยะเวลาเพียง ๖ เดือน นักวิชาการอิสระตรวจพบขั้วสนามแม่เหล็กเลื่อนลงใต้มาหาไซเบียเรีย ๑๖๑ ไมล์ ข้อมูลตามนี้หมายถึงว่าขั้วสนามแม่เหล็กโลกจะเลื่อนมาถึงไซเบีบเรียนก่อนสิ้นปี ค.ศ. 2014 หรือ พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งแน่นนอนทุกองศาที่เลื่อนลงมา หมายถึงพิบัติภัยที่เกิดมากขึ้น
    หากขั้วสนามแม่เหล็กโลกเลื่อนจากขั้วโลกลงมาถึง ๔๐ องศาเหนือเมื่อไหร เมื่อนั้นสนามแม่เหล็กโลกจะเลื่อนลงใต้ด้วยความเร็วสูง จาก ๔๐ องศาเหนือข้ามเส้นศูนย์สูตรมายัง ๔๐ องศาใต้ มหาพิบัติภัยแบบสุดๆจะเกิดในระยะเวลานี้

    จึงไม่น่าแปลกใจที่ภูมิอากาศซีกโลกเหนือปั่นป่วนหนัก ไม่ว่าพายุหิมะ อากาศหนาวเย็น และตามด้วยเทอร์นาโดและเฮริเคน เพราะสนามแม่เหล็กโลกเกี่ยวพันธ์กับภูมิอากาศโดยตรงมากกว่าดวงอาทิตย์ เส้นทางการไหวของแผ่นดินก็บ่งชี้ชัดว่าส่วนมากแรงจากเหนือลงเส้นศูนย์สูตรและข้ามไปนิวซีแลนด์

    ประเทศเราจะหนาวจัดเฉียบพลัน หิมะตกน้ำแข็งปกคลุมเช่นขั้วโลกเหนือในระยะเวลาหนึ่งไม่ไกลเกินที่จะเห็น พบ ประสบภัย สำหรับคนที่ร่างกายแข็งแรงอายุไม่เกิน ๙๐ ปี

    ก็ถือว่าผมนำข่าวสารมาเตือนแล้วนะครับ อุปกรณ์ฉุกเฉิน ผ้าห่มฉุกเฉิน ชุดกันหนาวแบบสุดโค่ย อาหาร น้ำ ยา ที่สามารถอยู่ได้ ๓ เดือน และที่สำคัญ สถานที่หลบภัยซักที่หนึ่งที่ดัดแปลงรองรับมหาพิบัติภัยที่ไม่ใช่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล คร่าวๆดังนี้

    ๑.พื้นที่ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งทะเลอย่างน้อย ๕๐๐ กิโลเมตร
    ๒.ความสูงจากน้ำทะเล
    ๒.๑ อย่างน้อยที่สุด ๒๓๕ เมตร หากมีเทือกภูเขาสูงเกิน ๘๐๐ เมตรกั้น
    ๒.๒ อย่างน้อย ๖๕๐ เมตร หากไม่มีเทือกภูเขาสูงกั้น
    ๓.หากเป็นไปได้ให้อยู่ใต้ดินน้อยที่สุด ต่ำกว่าผิวดิน ๑ เมตร ระยะปลอดภัย ๓-๕ เมตร
    ๔.อุปกรณ์กั้นความหนาวเย็น
    ๕.อุปกรณ์กรองฝุ่นจากเถ้าถ่านภูเขาไฟที่ระเบิด(เป็นฝุ่นเหล็กหลอมเหลว)
    ๖. อาหาร น้ำ ยา อย่างน้อย ๓ เดือน
    ๗. เมล็ดพันธุ์พืชและอุปกรณ์เพื่อทำการเกษตรเลี้ยงตนเองและครอบครัว

    ผมก็ดำเนินการตามที่ผมได้รับข้อมูล ประมวลข้อมูลมา ยังยืนยันในสิ่งที่จะเกิดขึ้น แม้นต้นเดือนพฤษภาคมจะไม่มีเหตุการณ์ใหญ่ที่มีผลต่อประเทศเราตามการคาดการณ์ แต่ผมก็ยังยืนยันในข้อมูลเดิมที่เคยประกาศไว้ว่า ที่รวบรวมมาจากท่านผู้รู้ทั้งหลายทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะข้อมูลและแนวการสอนจาก ดร.ก้องภพ อยู่เย็น ดร.สมิทธ ธรรมสโรช ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยูธยา และ ดร.เทพนม เมืองแมน

    กันยายนน่าจะมีภัยใหญ่อีกครั้ง และธันวาคมจะตัดสินว่าเราจะมี ค.ศ. 2014 หรือไม่? หรือต้องเริ่มนับศักราชใหม่ดังที่ฝรั่งบอกว่าจะต้องเปลี่ยนเป็น BY & AY
    Before Yellow Stone Period
    After Yellow Stone Period


    red alert pole shift news it has moved เผยแพร่เมื่อ 1 มิ.ย. 2013
    magnetic north pole has moved 161 miles in 6 months only, this puts its arrival in siberia in less that 2 years, and it is when it arrives there that it will have migrated 40 degrees across the northern hemisphere at this point the poles will shift at high speed over the equator until it reaches 40 degrees south, i will tell you what i expect to happen when it goes past the 40 degrees point in the coming uploads

    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=nbh9VI2PL0I]red alert pole shift news it has moved - YouTube[/ame]
    red alert pole shift news it has moved
    youtube.com
    Like·Comment·Share
    186 people like this.
    Trakarn Pullthanung
    อยู่อย่างมีสติครับ
    Like · 1 · Reply · Jun 3
    Zho Hoon
    เตือนภัยขั้นสุงสุด
    Like · Reply · Jun 4 at 9:10am
    ศุภนนท์ หวันวงค์
    อาจารย์สอบถามหน่อยครับ จากขั้วสนามแม่เหล็กโลกเลื่อนลงใต้แล้ว ๑๖๑ ไมล์ภายใน 6 เดือน น่าจะอีกกี่เดือนครับ ที่ขั้วสนามแม่เหล็กโลกเลื่อนจากขั้วโลกลงมาถึง ๔๐ องศาเหนือ ครับ
    Like · Reply · Jun 4 at 12:38pm
    Timeseasons Coffee Innovation Capital
    August...war mankind in bangkok...October...great flood..in middle thailand..December...snow fall in Thailand... Thank you very much for your news
    Like · Reply · Jun 4 at 3:18pm
    ปพรธ์พงษ์ ชะหมู่
    ขอแชร์นะครับ
    Like · 1 · Reply · Jun 3
    Pungko Pink
    ขอบพระคุณอาจารย์นะคะ
    Like · 1 · Reply · Jun 3
    Chaiyuth Chansawang
    ขอแชร์ครับ
    Like · 1 · Reply · Jun 3
    Krit Pinsuwan
    ขอบคุณครับ แชร์นะครับ
    Like · 1 · Reply · Jun 3
    ฟรี ดอม
    มีภาคไทยมั้ยอาจารผมไม่เข้าใจ
    Like · 1 · Reply · Jun 3
    Luechai Chiempitayanuwat
    ขอบคุณมากครับ ขอแชร์นะครับ
    Like · 1 · Reply · Jun 3
    Runn Rachata
    ขอบคุณครับ
    Like · 1 · Reply · Jun 3
    เพ็ญพาย เจริญสุข
    อาจารย์ตอนนี้ นครสวรรค์ ไฟตกเกือบทุกวันเลยค่ะ
    Like · 1 · Reply · Jun 3
    เพ็ญพาย เจริญสุข
    รบกวนอาจารย์บอกที่ลบภัยอีกครั้งได้ไหมค่ะ
    Like · 1 · Reply · Jun 3
    Piyacheep S.Vatcharobol replied · 1 reply
    Siriwan Kunsriwieng
    ขอบคุณข้อมูลขออนุญาตติดตามค่ะ
    Like · 1 · Reply · Jun 3
    Zho Hoon
    ติดตาม ช่าวสาร เ
    าระวังครับ
    Like · 1 · Reply · Jun 3 at 10:05pm
    คณิน วิสุทธิชุติมา
    ขอปันครับ
    Like · 1 · Reply · Jun 3
    คนเก็บ ฝืน
    ข่าวระดับสากลเงียบมาก มีกลุ่มไม่หวังดี คิดจะทำล้างมนุษย์จริงๆ ขอบคุนข้อมูลนี้ครับอาจารย์
    Like · 1 · Reply · Jun 4 at 5:23am
    Jintana Maprachum
    ขอขอบพระคุณมากค่ะอาจารย์ ขออนุญาตแชร์นะคะ
    Like · 2 · Reply · Jun 3
    Khemmanat Kijteng
    นักเตรียมตัวรับภัยพิบัติ เตรียมพร้อม ขอบคุณอาจารย์มากครับ
    Like · 2 · Reply · Jun 3
    รับทำ-แก้งาน โปรเจคจบ ปรีกษาก่อนได้จ้า
    ข้อสาม ระวังดินถล่มใส่หัว และก็น้ำเข้ารู ออกไม่ทันก็ตายเหมือนกัน
    Like · 2 · Reply · Jun 3
    Supakchaya Nontapinan
    ภัยพิบัติจะทะยอยความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ แต่ที่ใหญ่สุดจะเกิดในปี 2561 ค่ะ
    Like · 2 · Reply · Jun 3
    Piyacheep S.Vatcharobol
    ว่างๆก็เปิดดูเล่นๆนะครับ ว่าทั้งโลกสั่นมากน้อยแค่ไหน
    LISS - Live Internet Seismic Server
    LISS - Live Internet Seismic Server
    earthquake.usgs.gov
    Like · 7 · Reply · Jun 3
    Songyos Srijohn
    ผมจะแปลกใจมาก หากเรื่องนี้ ไม่เป็นข่าวครึกโครม ในสื่อมวลชนระดับโลก
    หากมันเงียบ (เหมือนสัญญาณอื่นๆ ที่ผ่านๆมา) ผมคิดว่าคงมี คณะบุคคลกำลัง เล่นเกมส์(โหด)กับชาวโลก

    เสริมข้อมูล อาจารย์ครับ ปกติ ขั้วโลกเหนือ ตามแนวแม่เหล็ก จะเคลื่อนปีละ 40 ไมล์ ย้ำนะครับว่าปีละ 40 ไมล์ แต่แค่ 6 เดือน 161 ไมล์ ผมว่าผิดปกติอย่างแรง และคงจะมีเรื่องอื่นๆตามมาในไม่ช้า
    Like · 18 · Reply · Jun 3
    2 replies
    ศุภนนท์ หวันวงค์
    อาจารย์ครับ สถานที่หลบภัยที่ทางอาจารย์และเครือข่ายฯประกาศไปแล้ว ยังถือว่าเป็นสถานที่ปลอดภัยอยู่ใช่ไหมครับ สำหรับ polar shift เพราะผมได้ลงทะเบียนไว้ที่วัดถ้ำพระบำเพ็ญบุญ อ.พาน ครับ
    Like · 3 · Reply · Jun 3
    Piyacheep S.Vatcharobol replied · 2 replies
    Ext Ordinary
    อ.เจน ได้นั่งสมาธิเปิดญาณและได้ถามครูบาอาจารย์จากแดนทิพย์
    ถีงภัยพิบัติทางน้ำครั้งใหญ่ที่จะเกิดขึ้น
    จะเกิดน้ำท่วมใหญ่ใน เดือน พฤศจิกายน 2557<< ผมเชื่อน่ะครับ
    Like · 15 · Reply · Jun 3
    Piyacheep S.Vatcharobol replied · 3 replies

    ..............................
    ขอวิจารณ์น่ะครับ ข้อมูลใน youtube ไม่ถูกหรอกครับ เช่นพิกัด ของขั้วแม่เหล็กเหนือ เพราะ
    ผมว่าข้อมูลแบบนี่ เป็นข้อมูลลับ ถึงอาจารย์จะไปซื้อข้อมูลมา หรือได้จากที่ไหนใครมันจะกล้าให้เอามาเปิดเผย ถ้าเปิดกะโดนไล่ออกแน่นอน ผมว่าแค่จะชี้ให้เห็นลักษณะที่จะเกิด แต่ไม่กล้าระบุพิกัดแน่นอนกลัวโดนจับได้ว่าเป็นข้อมูลของที่ไหน มาเผยแพร่ครับ และเห็นการตอบของอาจารย์ไหมเอาเรื่องการเกิดแผ่นดินไหวมากล่าวอีก ถ้าอยากรู้ข้อมูลจริงถามอาจารย์เลยดีกว่า
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 มิถุนายน 2013
  12. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Solar storm could leave Britain without power 'for months'

    The risk of a catastrophic solar storm that would leave countries including the United Kingdom and United States without electricity for days or even months will peak in 2015, a new report claims.

    The study, a joint venture from researchers at Lloyd's of London and Atmospheric and Environmental Research (AER) in the United States, details a dystopian scenario where a shortage of electrical transformers would leave Western nations without electricity for months because of the time needed to build replacements.

    A solar storm occurs when magnetic fields "loop" out of sunspots, releasing huge amounts of energy. These bursts of "plasma", a superheated, electrically-charged gas, could enter the Earth's own magnetic field and eventually disrupt networks dependent on electricity on the ground.

    Related Articles


    Huge surges of electricity flowing unexpectedly into telephone lines, the National Grid and transport networks would overwhelm them, resulting in widespread power failures.

    The total cost of such a scenario today in Europe and North America is estimated by Lloyd's at $2.6 trillion (£1.67tr) for a five-month blackout period, though it could be as low as $0.6tr (£0.39tr).

    According to the report, Earth is overdue for such an event, which would normally be expected every 150 years.

    "Historical auroral records suggest a return period of... 150 years for very extreme storms," it reads, adding that "The geomagnetic storm risk is projected to peak in early 2015".

    Data on sunspots, extreme magnetic activity on the sun's surface that can cause solar storms, dates back to 1775. This date is thought of as the beginning of the first of Earth's 11-year "solar cycles". Currently, the Earth is nearing the peak of the 24th cycle.

    Solar storms are more frequent when the sun is at the most active phase of its cycle (NASA/GSFC/SDO / Rex)

    The model used to map the effects of an extreme solar storm is that of the so-called "Carrington Event" of 1859.

    In August of that year, a solar storm reportedly destroyed telegraph wires in North America and Europe, giving operators electric shocks and knocking out the telegraph network as far away as Australia and Asia for two days. However, this was an age before every aspect of life in Western nations was dependent on electricity.

    According to the report, "The duration of these outages will depend largely on the availability of spare replacement transformers.

    "If new transformers need to be ordered, the lead-time is likely to be a minimum of five months."

    Neil Smith, Research Manager at Lloyd's of London, explained: "They are very limited in terms of numbers of replacements and manufacturing new transformers takes quite a long period of time, up to almost two years.

    "These are huge pieces of equipment. Building and transporting it is a huge job.

    "This could take weeks, even years, in the event of a really big storm.

    Widespread social unrest could follow as citizens scrambled for resources. "It could be quite frightening," he added.

    In the event of a solar storm, systems for controlling the flight path of aeroplanes would stop, potentially grounding entire fleets. Satellites that power the world's telecoms networks would be knocked out, and if enough generators were overwhelmed schools would close and hospital patients reliant on electrical equipment would be put at risk.

    The aurora borealis in the sky over Denmark, caused by a 2010 solar flare (Jesper Grønne)

    Mr Smith explained that though the government possesses some backup transformers, "there are some but not enough" for a Carrington-style event.

    The worst affected areas would be coastal in the United States and Britain, he said, and depended on the direction of the sun. In the United States this might include New York City, Washington DC and areas on the Gulf coast. More specific modelling for Britain has not yet been attempted.

    Mr Smith added that the government should look at the shortage of transformers at a "national or international level" to ensure more of them are available as backup, and consider "hardening" of infrastructure.

    The Canadian government has spent $1.2bn (£0.77bn) on capacitors that can block massive surges of electricity after Quebec was hit by a solar storm in 1989. The Quebecois power system was knocked out in two minutes, the effects of which costed C$13.2bn (£8.27bn).

    A spokeswoman for the Cabinet Office told the Daily Telegraph that a "project board" comprising representatives of the Met Office and the Civil Contingencies Secretariat (CCS), which plans for national emergencies, would release a report on the threat of solar storms next year, having met for the first time last month.

    The group would work with industry to ensure the effects of a future solar storm could be fully accounted for. The spokeswoman said: "It's not just government departments themselves, it is the organisations that work with government departments, such as the aviation industry and the energy industry."

    The board will look at vulnerabilities, impacts and what could be done to mitigate them, but the spokeswoman said she "couldn't say" where these might lie in Britain. She added it was "not the case" that Britain was underprepared for a solar storm by 2015.

    Solar storms are a "newly added risk" to the National Risk Register, which lists civil emergencies for which the government forms contingency plans.

    According to the UK's National Risk Register from 2012, "Severe space weather can cause disruption to a range of technologies and infrastructure, including communications systems, electronic circuits and power grids.

    "The ‘reasonable worst case’ for a severe space weather event is based on the so-called Carrington Event in 1859."

    Electromagnetic activity on the sun's surface is responsible for the Northern Lights, or aurora borealis.
     
  13. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    The solar flare heading towards Earth is just the Sun sending us a reminder of its power and glory

    The solar flare that hit Earth last week
    Picture: NASA
    Twitter
    34
    Facebook
    105

    Share
    139
    By Anjana Ahuja9:05PM GMT 08 Mar 2012
    We’ll have to learn to live with stellar tantrums and the problems they cause.

    Forget Super Tuesday; yesterday was Stellar Thursday. Three days ago, the surface of the Sun exploded. The two resulting solar flares unleashed enormous bursts of hot plasma – just as Earth happened to pootle into the firing line. It wasn’t clear exactly when or where these gargantuan plumes of roiling plasma, the fastest travelling at 1,300 miles a second, would hit our planet, but the world was warned to expect showtime last night or early this morning.

    Quite possibly, today could be Flare Friday. Nasa, not usually given to hyperbole, warned of a “severe geomagnetic storm, with possible disruption to high-frequency radio communication, global positioning systems and power grids”. The agency reinforced how much energy the first plume was carrying by releasing pictures of it leaving its solar birthplace; when viewed using special cameras, the whole surface of the Sun was seen to heave with the force of the eruption. The plumes are technically known as coronal mass ejections, because the stuff has been expelled from the corona, the Sun’s halo that is normally only visible to the naked eye during a total solar eclipse. As well as hitting Earth and Mars, the plumes were expected to envelop several Nasa spacecraft, disrupting their electronics.

    RELATED ARTICLES
    Solar flares could cause "as much devastation as a tsunami"
    Huge solar flare to hit Earth
    Dr Helen Czerski, the darling of bubble physics
    Whether the collision with Earth turns out to be a slam dunk or a glancing blow, it is a taste of things to come. The Sun goes through an 11-year cycle of activity, and we are due to reach a peak – solar maximum – in 2013. Solar minimum was in 2007. Scientists believe that the region that produced these so-called X-class solar flares has more surprises in store. Although we’re not going to fry, alerts to power companies, satellite operators and aviation authorities may well become more numerous.

    This reminds us that the fundamental celestial force to be reckoned with is not some black hole in a distant galaxy, or a blinding supernova at the edge of the universe. It is the ordinary yellow dwarf lying a mere 93 million miles away, our source of life and, when it stops shining in maybe five billion years, the source of death for any life still left on this planet. More than a million Earths could fit inside the Sun; the star’s mass makes up nearly 99.9 per cent of the mass of the Solar System.

    If size doesn’t impress you, the Sun’s dynamic interior should. It is a giant thermonuclear reactor, fusing millions of tonnes of hydrogen in its core every second to make helium. All living things are beneficiaries of the heat and light produced by this process. But, almost unnoticed, the Sun generates the “solar wind”, streams of charged particles that flow outwards and race through the Solar System.

    Handily, the Earth is shielded from the solar wind by its own magnetic bubble. This bubble diverts the solar wind, much as a gently flowing stream is deflected around a pebble. But the coronal mass ejections produced by solar flares are more like raging torrents of water. These plasma bursts don’t flow smoothly past Earth, but slam into the bubble.

    That’s when the trouble starts. This chaos – when superfast, magnetised solar plasma smacks into the terrestrial magnetic shield – induces electrical currents in the atmosphere that interfere with the electromagnetic signals used in just about everything, from sat-nav to communications to radio and television. In this way, a solar storm morphs into a geomagnetic storm. These geomagnetic storms, which are graded from G1 (the weakest) to G5, can also cause ruinous power surges in electrical grids. The plume about to hit is predicted to lead to a G2 or a G3. Famously, in 1989 Quebec suffered a power blackout after a solar storm.

    In addition, because the Earth is like a giant bar magnet, polar regions act as superhighways for the magnetised particles, channelling them down into the sky. The upside is beautiful auroral displays (possibly even at British latitudes on this occasion); the downside is that higher latitudes become no-go areas for aviation because of the risk of navigational havoc and radiation exposure. Polar flights were rerouted yesterday.

    It has been particularly nostalgia-inducing for me to witness the furore over the flares: I used to research solar physics at Imperial College in London. It is astonishing how all that easily forgotten jargon from nearly two decades ago – sunspots, solar maximum, geomagnetic storm – rekindles the sense of wonderment with which I undertook my studies. Today, the Sun continues to defy even the most basic inquiry, such as why solar flares produce coronal mass ejections, or even whether its waxing and waning exerts an effect on climate. Yet despite this inscrutability, we have no option but to rely ever more heavily on technology – incidentally, worth billions of dollars – that is vulnerable to stellar tantrums.

    On an impulse, I rang David Southwood, the distinguished professor who used to head my research group and who later became the European Space Agency’s director of science, to ask if he too was relishing the Sun’s current notoriety. He’d heard that Canada and America were making safe their electrical power grids and long-distance pipelines, which can act as conduits for voltage surges. “Personally, I get a kick out of these things,” he confessed. “It’s the universe reminding us that Earth is just one planet in the universe, and that we’re not fully in control of the spaceship.”
     
  14. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Solar storm hitting Earth causes spectacular aurora displays
    Twitter
    261
    Facebook
    2K

    Share
    2K
    By Tom Chivers12:28PM BST 04 Aug 2010
    A large solar storm has caused spectacular aurora displays across the Northern Hemisphere after blasting out of the Sun three days ago.

    On 1 August, almost the entire side of the Sun that faces the Earth erupted in a blaze of activity known as a "coronal mass ejection". These storms throw up to 10 billion tons of plasma - superheated gas - off the surface of the star and hurtling into space at around a million miles an hour. It covered the 93 million mile journey from the Sun to the Earth in just three and a half days.

    • See Jesper Grønne's beautiful image of the aurora

    RELATED ARTICLES
    Solar tsunami: aurora borealis or northern lights caused by solar flares
    Spectacular footage of aurora borealis in Denmark
    Nasa scientists braced for 'solar tsunami' to hit earth
    It was the "first major Earth-directed eruption in quite some time," according to Leon Golub, a scientist at the Harvard-Smithsonian Center for Astrophysics (CfA), who warned of the event on Monday.

    The flare which caused the eruption was relatively small, described as a class C3 by astronomers. Other flares, known as X or M class, are much larger, and capable of doing damage on Earth. C-class flares rarely have much effect on Earth beyond auroras - the glowing displays towards the poles, like the Northern (and Southern) Lights.

    Dramatic auroras were seen in Denmark, Norway, Greenland, Germany and across the northern United States and Canada as the expanding bubble of gas slammed into the Earth's atmosphere. The frequently beautiful displays are caused by the charged particles in the plasma interacting with the Earth's magnetic field - the solar matter is drawn towards the poles, where they collide with nitrogen and oxygen atoms in the atmosphere.

    While no damage seems to have been done by this flare, Nasa astronomers have previously warned that a much larger solar storm could cause havoc with electrical systems on Earth. In 2013, the Sun is expected to reach a stage in its roughly 11-year cycle when large storms are more likely.

    In 1859, one huge flare burned out telegraph wires across Europe and the USA. The so-called "Carrington flare", named after its discoverer, “smothered two-thirds of the Earth’s skies in a blood-red aurora a night later, and crippled all global navigation and global communication, such as it was at that time. Compasses spun uselessly and the telegraph network went down as phantom electricity surged through the wire,” according to Dr Stuart Clark, author of The Sun Kings.

    More recently, in 1989, a smaller but still enormous storm caused the power grids in Quebec to go down for nine hours, causing hundreds of millions' worth of dollars in lost revenue.

    Picture and video from Spaceweather.com.
     
  15. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Solar flare: key questions answered

    This image provided by NASA on March 7, 2012, combines observations made by NASA's Solar Dynamics Observatory in several extreme ultraviolet wavelengths, highlighting a bright X-class flare toward the upper left of the sun's disk on March 6. This flare was categorised as an X5.4, making it the second largest flare recorded - after an X6.9 on August 9, 2011. The full brunt of the storm is expected to hit Earth on Thursday and Friday, potentially disrupting power grids, GPS systems, satellites, and forcing planes to change their routes around the polar regions.
    Picture: NASA/AFP/Getty
    Twitter
    96
    Facebook
    326

    Share
    422
    2:10PM GMT 08 Mar 2012
    One of the biggest solar flares in years is on its way to Earth and with the Sun entering the most active stage of its 11-year cycle more can be expected. A panel of experts answer the key questions.

    What exactly has happened?

    Dr Jonathan Eastwood, Research Fellow in Space and Atmospheric Physics at Imperial College London

    RELATED ARTICLES
    Solar flares could cause "as much devastation as a tsunami"
    How the solar flare will affect the UK
    Northern lights: aurora borealis displays sparked by solar storm
    “A solar eruption earlier this week launched a huge amount of material from the Sun's atmosphere into space. This eruption (a 'coronal mass ejection') hit the Earth today, as predicted.

    "At the moment, the Earth's magnetic field is trying to deflect the solar material around the Earth, and scientists in the UK and around the world are monitoring the situation to see if our magnetic shield will hold up.

    "There is a good chance that the protection it offers will break down in the next 24 hours, leading to a geomagnetic storm."

    What can we expect over the next few days?

    Mark Gibbs, Met Office space weather expert

    “The impact of this will mainly be in terms of a geomagnetic storm on Earth and we understand some airlines may re-direct flights from polar routes and that the power supply industry may take routine mitigation steps.

    "This solar event may also increase the chances of seeing the aurora borealis or Northern Lights in the UK. However it is expected to be rather cloudy in many places with the best chance of clearer spells in some eastern areas.

    "For the majority of people, a 'solar storm' of this magnitude will pass largely unnoticed.”

    How often do these solar storms happen, and will we see bigger ones?

    Dr Craig Underwood, Deputy Director of the Surrey Space Centre, University of Surrey

    "The event is the largest for several years, but it is not in the most severe class. We may expect more storms of this kind and perhaps much more severe ones in the next year or so as we approach solar maximum (the most active phase of the Sun's cycle).

    "Such events act as a wake-up call as to how our modern western lifestyles are utterly dependent on space technology and national power grid infrastructure.

    “Space engineers go to some lengths to ensure that spacecraft can continue to operate under these hostile conditions. Similarly, space scientists are working hard to try to understand the physics of these events, so that we may be able to give more warning of when such an event is likely to occur."

    Could a bigger storm really give us serious reason to worry?

    Professor Alan Woodward, Department of Computing, University of Surrey

    “As the 2012 Olympics approach we have a convergence of an event that is the most connected, computer intensive event, ever with a record level of sunspot activity which typically leads to solar flares.

    "We have the potential this year to see what planners call a 'Black Swan' event: one that is unlikely but if it happens will have an extraordinary impact on our lives. The last similar event was the Japanese Tsunami which caused massive physical damage. This year we could see equally devastating results from the disappearance of our computer systems.

    “Without computers the modern world would simply cease to function. Life as we know it would grind to a halt. It is therefore scary to know that these computers are remarkably susceptible to electronic interference which can bring about this situation.”

    Twitter
    96
    Facebook
    326

    Share
    422
    MORE FROM THE TELEGRAPH
    Clever people 'better at blocking out distractions'
    Prime number breakthrough by unknown professor
    Red dwarfs: Dim stars shine bright light on the hunt for E.T.
    MORE FROM THE WEB
    What Evidence Supports the Theory of Evolution? (Dummies.com)
    NASA creates eye-popping 160-megapixel image of our two nearest galaxies (video) Alt (Engadget)
    The Boulder Experience (Vimeo)
    [?]
     
  16. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    ข้อความภาษาอังกฤษ 4 ข้อความก่อนหน้านี้มีพูดเกี่ยวกับพายุสุริยะทำให้กระแสไฟฟ้าดับได้ จำได้ไหมเคยมีการเถียงกันเรื่องพายุสุริยะทำให้ไฟดับภาคใต้ิ เห็นไหมพายุสุริยะมีผลทำให้ไฟดับได้ แต่ก็คงจะมีคนเถียงต่อว่าไทยอยู่ที่บริเวณเส้นศูนย์สูตรแม่เห็กน่าจะป้องกันได้ ลืมไปแล้วใช่ไหมเอ่ย มีการค้นพบว่าสนามแม่เห็กโลกมีรูรั่วน่ะ และสนามแม่เหล็กในบรรยากาศก็น้อยลงไปมากแล้วน่ะ ซึ่งปัจจัยทำให้ไฟดับตามข้อความภาษาอังกฤษก็น่าจะเกิดกับไทยได้ และการที่ไฟดับข่าวบอกแค่ไฟดับก็เชื่อแล้วหรือ อย่าลืมเดีี๋ยวนี้ิ กฟผ ใช้ระบบ power grid ซึ่งเป็นดิจิตอล ก็น่าจะเสียหายได้ถ้าถูกพลังงานกดมามากๆ และเมื่อระบบกริดเสียหายจะไปปล่อยไฟได้ไง ยุคนี้ดิจิตอล มนุษย์ดิจิตอล
     
  17. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649

    ข้อมูลการเคลื่อนที่ของแม่เหล็กโลกรายงานโดย NOAA ครับ

    ดูข้อมูลตาม Link นะครับ

    http://www.ngdc.noaa.gov/geomag/data/poles/NP.xy



    ข่าวที่เกี่ยวข้องครับ



    .
     
  18. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Piyacheep S.Vatcharobol ได้แชร์ลิงก์ วันที่ 11 มิถุนายน 2556 (ตอนไปยกข้อมูล 9.29 น).Siripol Pong
    Tornadic waterspout rips through the South of France (VIDEO) — RT News

    พายุเทอนาโดเข้าเมืองท่าท่องเที่ยวชายทะเลฝรั่งเศส
    เกิดเป็นนาคเล่นน้ำ ซึ่งไม่เคยมีบันทึกพายุเทอนาโดในบริเวณนี้มาก่อน อันเป็นการแสดงให้เห็นถึงสนามแม่เล็กเกิดรูโหว่เป็นช่วงๆ หลายสถานที่ อันบ่งบอกถึงความน่าจะเป็นในการสลับขั้วสนามแม่เหล็กโลกในปี 13-14 นี้นะครับ
     
  19. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Tornadic waterspout rips through the South of France (VIDEO)
    Get short URL

    3_si.jpg

    Published time: June 09, 2013 20:43
    Edited time: June 09, 2013 21:54
    Photo staken in Nice shows a tornado above Marina Baie des Anges on June 9, 2013.(AFP Photo / Valery Hache)

    Share on tumblrTags

    France, Natural disasters, Weather A natural phenomenon more common for America, a tornado, has hit the South of France shocking locals and holidaymakers on the Côte d'Azur, the Mediterranean coastline.

    As thousands in Central Europe are struggling to cope with devastating floods which have already claimed the lives of at least 21 people, a tornado ripped through the French Riviera on Sunday morning.


    The violently rotating column of air and water formed off the coast not far from popular resort towns of Cannes and Nice.


    The phenomenon was observed from the Cagnes-sur-Mer commune in southeastern France, rising off to Villeneuve-Loubet and Antibes, reports Nicematin.com.


    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/1Pa874ipDy4?feature=player_embedded" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>




    So far, no damage or injury has been reported.

    The incident is being widely discussed on social networking services where users – some of them freaked out others rather thrilled - share videos and photos of the “tornado.”

    “OMG there was a mini tornado in my town today. In Nice!” tweeted user nicknamed Sachamallow.

    “There's been a tornado in Cannes. I bet the end of the world is approaching! we're all gonna die you, will see,” noted @Amaandarine.

    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/ohAy2R5iykQ?feature=player_embedded" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    Watch the video.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 มิถุนายน 2013
  20. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,685
    ค่าพลัง:
    +97,150
    ศัพท์แสงเกี่ยวกับดวงอาทิตย์ สำหรับการติดตามรายงานภัยพิบัติต่างๆ

    คัดลอกจาก จุดดับ | Mr.Vop's Blog

    Filed under: ดาราศาสตร์, ภัยพิบัติ — ป้ายกำกับ:การประทุที่ดวงอาทิตย์, จุดดับ, จุดมืด, รังสีคอสมิก, สนามแม่เหล็กระหว่างดาวเคราะห์, Cosmic Ray, IMF, Interplanetary Magnetic Field, SOHO, Solar Flare, Solar Wind, Sunspot — Mr.Vop @ 14:32
    Sunspotจุดมืด (จุดดับ:ชื่อเดิม) บนดวงอาทิตย์
    จุดมืดบนดวงอาทิตย์ อยู่ที่ผิวของดวงอาทิตย์หรือชั้นบรรยากาศโฟโตสเฟียร์ เกิดเป็นครั้งคราว และปรากฏตัวเป็นกลุ่ม (เรียกว่า sunspot group หรือ active region) จุดมืดเคลื่อนที่ตามที่ดวงอาทิตย์หมุนรอบตัวเอง ทำให้เราทราบว่าดวงอาทิตย์หมุนรอบหนึ่งทุกๆ 27 วัน อุณหภูมิบนพื้นผิวลดลง อุณหภูมิที่ศูนย์กลางของจุดเหล่านี้จะประมาณ 4000 K จำนวนจุดมืดบนดวงอาทิตย์ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องในวัฏจักร 11 ปี (sunspot cycle หรือ solar cycle) โดยมีจำนวนมากที่สุด (solar maximum) เมื่อปี 2544 รอบหนึ่ง จุดมืดเกิดจากสนามแม่เหล็กสูงที่โพล่ออกมาจากผิวดวงอาทิตย์ ทำให้ปรากฏการณ์การปะทุ (solar flare) และพายุสุริยะที่รุนแรง เกิดจากบริเวณจุดมืดเสมอ สภาพอวกาศจึงตามวัฏจักร 11 ปีนั้นเช่นกัน
    Solar Flare การประทุที่ดวงอาทิตย์
    เป็นการระเบิดรุนแรงบนชั้นโครโมสเฟียร์ เกิดขึ้นบริเวณที่มีจุดมืด ซึ่งเป็นบริเวณที่เป็นขั้วของสนามแม่เหล็กแบบสองขั้ว Solar Flare ให้พลังงานสูงมาก (ประมาณว่าเท่ากับระเบิดไฮโดรเจนขนาด 100 เมกกะตันจำนวน 1 ล้านลูกรวมกัน) เนื่องจาก Solar Flare มีพลังงานสูงมาก การส่งพลังงานออกมามักอยู่ในย่านความถี่ของ UV และรังสี X จึงสังเกตได้ยากภายใต้ย่านความถี่ของแสงขาว แต่เห็นได้ชัดเจนในย่านความยาวคลื่นที่ได้กล่าวมาแล้ว อุณหภูมิของ Solar Flare จะสูงหลายล้านเคลวิน และส่งอนุภาคประจุไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงกว่าปรกติออกมาอย่างมากมาย เกิดเป็นลมสุริยะที่มีกำลังแรงผิดปรกติ จนสามารถเรียกได้ว่าเป็นพายุสุริยะ (Solar Storm)
    Interplanetary Magnetic Field (IMF) สนามแม่เหล็กระหว่างดาวเคราะห์
    ดวงอาทิตย์ของเราประกอบไปด้วยพลาสมาร้อนและสนามแม่เหล็กเป็นวงเข้าและออกตามผิวของดวงอาทิตย์ บางแห่งบนผิวดวงอาทิตย์แรง พลาสมาจะถูกกักไว้ในสนามแม่เหล็กวงปิด แต่ถ้าหากว่าความดันของพลาสมาแรงกว่าแรงแม่เหล็ก สนามแม่เหล็กอ่อนจะถูกดึงออกมาพร้อมพลาสมา พลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์เรียกว่า “ลมสุริยะ” และเราเรียกสนามแม่เหล็กที่ถูกลากออกมาว่า “สนามแม่เหล็กระหว่างดาวเคราะห์”
    เนื่องจากดวงอาทิตย์มีการหมุนรอบตัวเองทุกๆ 27 วัน ทำให้สนามแม่เหล็กระหว่างดาวเคราะห์มีลักษณะเป็นรูปเกลียวก้นหอย (Archemedian spiral) เสมือนกับลำน้ำจากเครื่องฉีดน้ำที่หมุนรอบตัวเอง บวกกับการที่ลมสุริยะมีความแปรปรวน (turbulent) อยู่ตลอดเวลาจึงทำให้สนามแม่เหล็กมีลักษณะแปรปรวนตามไปด้วย รูปข้างล่างแสดงถึงโครงสร้างของสนามแม่เหล็กระหว่างดาวเคราะห์และลมสุริยะ
    Cosmic Rays รังสีคอสมิก
    เป็นอนุภาคพลังงานสูงจากอวกาศภายนอกโลก ที่มีพลังงานในระดับ 103 – 1020 eV โดยอนุภาคเหล่านี้ เป็นอนุภาคที่มีประจุหรือเป็นกลางทางไฟฟ้าก็ได้ เช่น อิเล็กตรอน โปรตอน ไฮโดรเจน อัลฟา นิวคลีออนของทุกธาตุ
    แหล่งกำเนิดของรังสีคอสมิกนี้มีด้วยกันหลายแหล่ง และทำให้เกิดพลังงานที่ต่างๆ กันออกไป เช่น ที่ดวงอาทิตย์ ซูเปอร์โนวา หลุมดำ ฯลฯ
    โดยรังสีคอสมิกจะมีผลต่อโลกโดยตรง เช่น การเกิดอันตรายต่อดาวเทียมและมนุษย์ในอวกาศ การเกิดการเตือนรังสีในเครื่องบินโดยสาร การเกิดแสงเหนือแสงใต้ การเกิดกระแสไฟฟ้าขัดข้องในหม้อแปลงโรงผลิตไฟฟ้าในบางประเทศ ผลกระทบต่อโลกเหล่านี้เป็นผลที่เรียกรวมๆ ว่า สภาพอวกาศ (space whether)
    Coronal Mass Ejection (CME) การปล่อยก้อนมวลจากดวงอาทิตย์
    เป็นปรากฏการณ์ที่ดวงอาทิตย์มีการปลดปล่อยมวลออกมา อนุภาคไฟฟ้าพลังงานสูงจะถูกปลดปล่อยออกมาด้วความเร็วสูงนับพันกิโลเมตรต่อวินาที ปรากฏการณ์ coronal mass ejection นี้มักจะเกิดร่วมกับ solar flare หรือ prominence (เป็นปรากฏการณ์คล้ายเปลวไฟบนดวงอาทิตย์) แต่ในบางครั้งอาจจะเกิด coronal mass ejection ขึ้นเดี่ยวๆ โดยไม่เกิด solar flare หรือ prominence ขึ้นด้วยก็ได้
    สำหรับสาเหตุของ CME นั้นยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด แต่มีบาง model ที่สามารถจะอธิบายปรากฏการณ์นี้ได้ดีพอสมควร เริ่มจาก สนามแม่เหล็กแบบคู่ขั้วจาก sunspot ขยายตัวออกไปใน corona จากนั้นสนามแม่เหล็กทั้งสองขั้วจะเคลื่อนเข้าหากันอีกครั้ง จุดที่สนามแม่เหล็กเคลื่อนเข้าหากันจะค่อยๆ ลอยสูงขึ้นและขับให้มวลส่วนหนึ่งของดวงอาทิตย์หลุดออกมาด้วย
    Solar Wind ลมสุริยะ
    มีกำเนิดมาจากส่วนที่เป็น corona ของดวงอาทิตย์ โดย corona จะเป็นส่วนที่มีอุณหภูมิสูงมาก ทำให้ corona เองค่อยๆ ขยายตัวออกเรื่อยๆ จนในที่สุดอนุภาคต่างๆ ที่อยู่ใน corona ก็จะหลุดพ้นออกมาจากแรงดึงดูดของดวงอาทิตย์ เกิดเป็นกระแสธารของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าไหลออกจากดวงอาทิตย์ เรียกว่า ลมสุริยะ (solar wind)
    เนื่องจากลมสุริยะเป็นอนุภาคที่มีประจุจึงถูกดักจับให้เคลื่อนที่ไปตามเส้นสนามแม่เหล็กที่ออกมาจากดวงอาทิตย์ สำหรับอัตราเร็วของลมสุริยะนั้นจะขึ้นกับละติจูด (latitude) ที่ลมสุริยะนั้นเกิดขึ้นมา โดยลมสุริยะเกิดที่บริเวณใกล้ๆ ขั้วเหนือและใต้ของดวงอาทิตย์ จะมีอัตราเร็วสูงกว่าลมสุริยะที่เกิดที่บริเวณใกล้ๆ เส้นศูนย์สูตร โดยเฉพาะลมสุริยะที่ออกมาจาก coronal holes (ซึ่งมักจะอยู่บริเวณขั้วของดวงอาทิตย์) จะมีอัตราเร็วและความรุนแรงมากที่สุด โดยเฉลี่ยลมสุริยะจะมีอัตราเร็วเฉลี่ยประมาณ 300 กิโลเมตรต่อวินาที ที่ระยะทางเป็น 30 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ และเมื่อมาถึงโลกลมสุริยะจะมีอัตราเร็วเฉลี่ยประมาณ 400 กิโลเมตรต่อวินาที
    การเร่งอัตราเร็วของลมสุริยะนี้เพิ่งเป็นที่เข้าใจกับเมื่อปี ค.ศ. 1998 นี้เอง เมื่อยานอวกาศโซโฮ (SOHO Spacecraft) และดาวเทียมสปาร์ตัน (Spartan Satellite) ได้ตรวจพบว่าสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีการกระเพื่อมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งอาจจะเป็นสาเหตุของการเร่งอัตราเร็วของลมสุริยะก็ได้
     

แชร์หน้านี้

Loading...