กสินสีขาว

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Scorpius, 8 มิถุนายน 2011.

  1. Scorpius

    Scorpius เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    844
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +647
    <!--[if !mso]> <style> v\:* {behavior:url(#default#VML);} o\:* {behavior:url(#default#VML);} w\:* {behavior:url(#default#VML);} .shape {behavior:url(#default#VML);} </style> <![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]-->[FONT=&quot]การฝึกกสินสีขาว พอมีประสบการณ์อยู่บ้าง ขอแนะนำผู้ที่ยังไม่รู้วิธีหรือเกิดปัญหาดังนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ตั้งวงกสินให้อยู่ไกลประมาณ [/FONT][FONT=&quot]1 [/FONT][FONT=&quot]เมตร [/FONT][FONT=&quot]10 [/FONT][FONT=&quot]ซม.[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]นั่งให้ระดับสายตาอยู่สูงกว่าตรงกลางวงกสินเล็กน้อย ไม่ให้เงยหน้ามองหรือก้มหน้ามอง[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ตั้งกสินให้ไม่อยู่ในที่ๆ มีแสงสะท้อน หรือย้อนแสงนั่นเอง[/FONT][FONT=&quot]

    - [/FONT][FONT=&quot]จากนั้นให้มองดวงกสินแบบให้มองเหม่อเหมือนส่องกระจกไปที่จุดศูนย์กลางของวงกสิน เพื่อไม่ให้มีแสงลายๆวิ่งรอบๆ ดวงกสิน[/FONT][FONT=&quot]

    - [/FONT][FONT=&quot]พร้อมกันนั้นให้กำหนดคำภาวนาในใจ เช่น "สีขาว"[/FONT][FONT=&quot], "[/FONT][FONT=&quot]สีขาว" เป็นต้น ทุกลมหายใจเข้าออก[/FONT][FONT=&quot]

    - [/FONT][FONT=&quot]จากนั้นให้เรากระพริบตา เมื่อรู้สึกว่าตาของเรามองกสินไม่ชัด[/FONT][FONT=&quot]

    - [/FONT][FONT=&quot]เมื่อเรามองกสินไปได้พักหนึ่ง ซึ่งประมาณ [/FONT][FONT=&quot]15 [/FONT][FONT=&quot]วินาที - [/FONT][FONT=&quot]1 [/FONT][FONT=&quot]นาที[/FONT][FONT=&quot]หรือเมื่อรู้สึกว่านาน ให้หลับตาลงมองดูเงาโครงร้างของกสิน[/FONT][FONT=&quot]ไม่ใช่นึกภาพเอาเอง เราจะเห็นเป็นวงเงาจางๆ ที่ในหนังตากลางระหว่างคิ้ว[/FONT][FONT=&quot]

    - [/FONT][FONT=&quot]พยายามรักษารูปเงาของกสินไว้ให้นานที่สุด เมื่อภาพของกสินหายไป[/FONT][FONT=&quot]อาจจะเพราะจิตเกิดนิวรณ์ หรือภาพที่เคยมองหายไปเอง[/FONT][FONT=&quot]ให้เราลึมตามองแล้วทำอย่างที่บอกมาแล้วอีกเรื่อยไป[/FONT][FONT=&quot]

    - [/FONT][FONT=&quot]เวลาที่หลับตาและลืมตานั้น ข้าพเจ้ามีเทคนิคอยู่ว่า[/FONT][FONT=&quot]อย่าให้ร่างกายของตนเองขยับเขยื่อนให้มากที่สุด เพราะจะทำให้ภาพหายเร็วขึ้น[/FONT][FONT=&quot]สมาธิเคลื่อน[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]แต่เวลาที่รู้สึกตามันหนัก ตาจะหลับตาท่าเดียวไม่ลืมตาล่ะก็[/FONT][FONT=&quot]ให้หายใจยาวๆ ได้จะทำให้อาการหนักตาหายไป[/FONT][FONT=&quot]และเวลาที่หลับตาหรือลืมตานั้นควรใช้ตอนที่อยู่ในช่วงเวลาหายใจเข้า[/FONT][FONT=&quot]เพราะตอนกำลังหายใจเข้าร่ายกายของเราจะนิ่งและรู้สึกเบาตัว[/FONT][FONT=&quot]

    - [/FONT][FONT=&quot]เมื่อเราดำรงตนอยู่กับคำภาวนา พร้อมกับลืมตามองดวงกสิน[/FONT][FONT=&quot]สลับกับหลับตามองภาพเงาของกสินได้อยู่ตลอดโดยคำภาวนานั้นไม่ได้ตกหล่นแม้สัก[/FONT][FONT=&quot]ครั้ง ตลอดช่วงระยะเวลาการฝึกได้แล้ว[/FONT][FONT=&quot]

    - [/FONT][FONT=&quot]ต่อไปนานวันเข้า[/FONT][FONT=&quot]จะทำให้นิวรณ์ดับไปช่วงสั้นๆ คือ ดำรงสมาธิโดยไม่มีนิวรณ์ได้ช่วงสั้นๆ[/FONT][FONT=&quot]สลับกับมีนิวรณ์แทรกเข้ามาช่วงสั้นๆ ตลอดเวลาการฝึก[/FONT][FONT=&quot]เมื่อเราทำได้อย่างนี้จนเป็นปกติอยู่ทุกวี่วัน[/FONT][FONT=&quot]จะทำให้เราสามารถมองเห็นเงาของกสินชาวๆ จางๆ[/FONT][FONT=&quot]ติดตาในเวลาหลับตาที่ไม่ได้อยู่ในช่วงที่ฝึกสมาธิอย่างจริงจัง เช่น[/FONT][FONT=&quot]หลับตาตอนนั่งรถประจำทาง เป็นต้น อย่างนี้เรียกว่าสมาธิอยู่ใน ระดับ[/FONT][FONT=&quot] "[/FONT][FONT=&quot]ขณิกสมาธิ"[/FONT][FONT=&quot]

    - [/FONT][FONT=&quot]ต่อเมื่อฝึกไปนานๆ เข้าทุกวัน[/FONT][FONT=&quot]สามารถดำรงขณิกสมาธิได้เป็นปกติแล้ว จะทำให้นิวรณ์ดับไปนานขึ้น[/FONT][FONT=&quot]จนเกือบไม่กลับมาเกิดขึ้นอีกเลยในช่วงหลังจากที่เริ่มนั่งฝึกสมาธิแล้ว[/FONT][FONT=&quot]เมื่อกระทำได้อย่างนี้จนเป็นปกติเคยชินจะทำให้ภาพของกสินนั้นชัดขึ้น[/FONT][FONT=&quot]จนติดตาของเรา เห็นภาพเหมือนกับลืมตาปกติ[/FONT][FONT=&quot] ([/FONT][FONT=&quot]ก่อนที่จะเห็นเหมือนกับลืมตาได้นั้นจะมีวิวัฒนาการคือ[/FONT][FONT=&quot]จะเห็นขอบของเงากสินชัดขึ้น[/FONT][FONT=&quot]ตรงกลางของเงากสินเปลี่ยนสีไปเป็นสีขาวก่อนจุดอื่น และค่อยขยายตัวขึ้น[/FONT][FONT=&quot]จนในที่สุดจะขาวทั้งดวงเหมือนกับลืมตา)[/FONT][FONT=&quot]อย่างนี้เรียกว่าสมาธิของเรานั้นอยู่ในระดับ "อุปจารสมาธิ"[/FONT][FONT=&quot]

    - [/FONT][FONT=&quot]เมื่อกระทำอย่างนี้แล้วเราสามารถวัดความก้าวหน้าได้คือ[/FONT][FONT=&quot]เมื่อไม่ได้อยู่ในเวลาฝึกปกติ เพียงเราต้องการจะเห็นภาพให้เราหลับตาลง[/FONT][FONT=&quot]นึกถึงดวงกลมๆ ของเงากสินเพียงลัดนิ้วมือจะเห็นภาพเหมือนกับลืมตาทันที[/FONT][FONT=&quot]

    - [/FONT][FONT=&quot]เมื่อกระทำอุปจารสมาธิได้เป็นปกติแล้ว[/FONT][FONT=&quot]เราสามารถก้าวหน้าไปได้ด้วยการกระทำแบบเดิมดังที่กล่าวมาข้างต้น[/FONT][FONT=&quot]จะทำให้สมาธิก้าวหน้าขึ้นไปอีกขั้นคือ[/FONT][FONT=&quot]นิวรณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นในตอนเริ่มนั่งลงฝึก[/FONT][FONT=&quot]แล้วพอเรากำหนดคำภาวนาไปนิวรณ์จะหายไป[/FONT][FONT=&quot]ไม่กลับมาอีกเลยตลอดช่วงระยะเวลาการฝึก อาการปิติต่างๆ เช่น ขนลุก[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]น้ำตาไหล[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]ตัวโยกโคลง[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]ตัวเบาเหมือนลอยได้ ความชุ่มชื่นอิ่มเอมใจน้อยๆ[/FONT][FONT=&quot]ปรากฏขึ้นมา จิตของเราที่เคยรู้สึกตามลมหายใจเข้าไปหรือตามลมหายใจออกมา[/FONT][FONT=&quot]ไม่อยู่นิ่งจะอยู่นิ่งเอยู่พียงจุดเดียว คือ[/FONT][FONT=&quot]ระหว่างคิ้วที่ภาพของกสินนั้นชัดเหมือนลืมตา และคำภาวนาปรากฏชัดมากขึ้น[/FONT][FONT=&quot]เมื่อนั้นสมาธิของเราจะเข้าสู่ "ปฐมฌาน"[/FONT][FONT=&quot]

    - [/FONT][FONT=&quot]ต่อจากนั้นเรายังคงกระทำไปด้วยวิธีการดังเดิม แม้ในวันเดียวกัน[/FONT][FONT=&quot]หรือหลายวันขึ้นอยู่กับความเพียร จะทำให้คำภาวนาของเราค่อยๆ หายไป[/FONT][FONT=&quot]บางทีอยู่ดีๆ หายไป กลายเป็นเรารู้ลมหายใจชัดมากขึ้นไม่มีคำภาวนามาแทรก[/FONT][FONT=&quot]อาการต่างๆ ของปิติยังคงอยู่ ภาพของกสินยังเป็นสีเดิมแต่ชัดขึ้น ใสขึ้น[/FONT][FONT=&quot]นูนขึ้นเหมือนกับภาพ [/FONT][FONT=&quot]3 [/FONT][FONT=&quot] มิติ เมื่อนั้นสมาธิของเราเข้าสู่ "ทุติยฌาน"[/FONT][FONT=&quot]

    - [/FONT][FONT=&quot]ต่อจากนั้นเรายังคงกำหนดรู้อยู่เพียงจุดเดียวคือดวงกสินจิตจ่ออยู่ตรงกลาง[/FONT][FONT=&quot]ระหว่างคิ้ว ลมหายใจแผ่วเบาลง[/FONT][FONT=&quot]ภาพของกสินเริ่มเปลี่ยนเป็นเหมือนแก้วขาวใสขุ่นๆ[/FONT][FONT=&quot]เหมือนกับมรกตที่มีสีขาวใสผสมกับเนื้อกระจก อาการต่างๆ[/FONT][FONT=&quot]ของปิติสงบไปเองไม่ต้องบังคับ อาการแช่มชื่น สุขใจ[/FONT][FONT=&quot]ขยันหมั่นเพียรอย่างยิ่งยวดปรากฏขึ้นเต็มตัว เมื่อนั้นสมาธิของเราจะเข้าถึง[/FONT][FONT=&quot] "[/FONT][FONT=&quot]ตติยฌาน"[/FONT][FONT=&quot]

    - [/FONT][FONT=&quot]ต่อจากนั้นเรายังคงกำหนดรู้อยู่เพียงจุดเดียวคือดวงกสิน ภาพของกสินจะค่อยๆ[/FONT][FONT=&quot]ใสคล้ายกับเนื้อของเพชร สีขาวค่อยๆ หมดไป จนเหลือแต่เพียงสีผลึกเพชร [/FONT][FONT=&quot]7 [/FONT][FONT=&quot]สีอย่างเดียว สว่างไสว ลมหายใจที่มีอยู่หายไปเอง ไม่ต้องบังคับ[/FONT][FONT=&quot]อาการความสุขต่างๆ หายไปเหมือนกันไม่ต้องบังคับ[/FONT][FONT=&quot]เมื่อนั่นสมาธิของเราเข้าสู่ "จตุถฌาน"[/FONT][FONT=&quot]

    - [/FONT][FONT=&quot]จากนั้น ถ้าเราต้องการที่จะฝึกวิชชา [/FONT][FONT=&quot]8 [/FONT][FONT=&quot]หรือเข้าอรูปฌาน หรืออภิญญาก็สามารถกระทำได้ เช่น[/FONT][FONT=&quot]
    - [/FONT][FONT=&quot]ถ้าต้องการฝึกอรูปฌานให้เริ่มโดยการกำหนดอยู่นิ่งๆ[/FONT][FONT=&quot]กับภาพกสินที่เป็นผลึกเพชร ไม่มีลมหายใจปรากฏ จิตแน่วแน่ขึ้นเรื่อยๆ[/FONT][FONT=&quot]จะทำให้ภาพของเงากสินนั้นค่อยๆ ไปเหลือเพียงดวงกสินไม่มีใส้ ผลึกเพชรหายไป[/FONT][FONT=&quot]พูดง่ายๆ เหมือนกับวงกลมธรรมดาที่เขียนขึ้นมีพื้นสีดำที่เป็นเหมือนอากาศ[/FONT][FONT=&quot]เรากำหนดรู้อยู่อย่างนั้นเป็นต้นไปเรียกว่าเข้าสู่อรูปฌานที่ [/FONT][FONT=&quot]1

    [/FONT][FONT=&quot]เพิ่มเติม[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    1. [/FONT][FONT=&quot]เวลาทำกสินนั้นมีด้วยกันหลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของกสิน เช่น[/FONT][FONT=&quot]ปฐวีกสินจะใช้ดินที่มีสีแดงหน่อยๆ (ดินขุยปู) ในการทำ[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]โอทาตกสินจะใช้ผ้าขาว หรือกระดาษสีขาว เป็นต้น[/FONT][FONT=&quot]แต่ที่เหมือนกันของทุกกสินนั้นคือขนาดความกว้างของดวงกสินที่มีลักษณะกลม[/FONT][FONT=&quot]นั้น จะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง [/FONT][FONT=&quot]1 [/FONT][FONT=&quot]คืบ [/FONT][FONT=&quot]4 [/FONT][FONT=&quot]นิ้ว[/FONT][FONT=&quot]และต้องมีพื้นผิวที่เรียบไม่มีตำหนิครับ[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT][FONT=&quot]แต่ถ้าต้องการเพ่งวรรณกสิน[/FONT][FONT=&quot]คือ สีแดง[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]สีขาว[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]สีเหลือง[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]สีเขียว แล้วล่ะก็[/FONT][FONT=&quot]ปัจจุบันมีแบบที่สำเร็จรูปขายแล้วครับ ซึ่งขนาดของดวงกสิน[/FONT][FONT=&quot]และความสูงของดวงกสิน[/FONT][FONT=&quot]พื้นผิวเป็นไปตามที่ท่านพระพุทธโฆษจารย์อธิบายไว้ในคำภีร์วิสุทธิมรรคครับ[/FONT][FONT=&quot]

    2. [/FONT][FONT=&quot]วิธีการที่จะช่วยให้เพ่งกสินและกำหนดภาพกสินนั้น[/FONT][FONT=&quot]ข้าพเจ้าได้เขียนอธิบายไว้ข้างต้นแล้ว[/FONT][FONT=&quot]ขอให้คุณลองตีความจากนั้นปฏิบัติตามดูครับ[/FONT][FONT=&quot]ส่วนระยะเวลาที่ฝึกแล้วสามารถเห็นผลได้นั้นขึ้นอยู่กับหลายเหตุปัจจัยครับ[/FONT][FONT=&quot]เช่น[/FONT][FONT=&quot]
    - [/FONT][FONT=&quot]สร้างสถานที่และองค์ประกอบต่างๆ ของการเพ่งกสินให้เหมาะสม[/FONT][FONT=&quot]
    - [/FONT][FONT=&quot]แบ่งช่วงเวลาที่แน่นอนในการฝึก เช่น เช้ามืด [/FONT][FONT=&quot]1 [/FONT][FONT=&quot]ชม. และ กลางคืน [/FONT][FONT=&quot]1 [/FONT][FONT=&quot]ชม. และอย่าพยายามขาดการฝึก[/FONT][FONT=&quot]
    - [/FONT][FONT=&quot]มีศรัทธาตั้งใจอย่างแน่วแน่โดยอาศัยหลักอิทธิบาทสี่[/FONT][FONT=&quot]
    - [/FONT][FONT=&quot]อย่าเกิดความอยากได้เร็วๆ เพราะจะกลายเป็นกามฉันทะไปเสีย[/FONT][FONT=&quot]
    - [/FONT][FONT=&quot]ระยะเวลาที่ฝึกอย่างสม่ำเสมอ มากน้อย ซึ่งตรงนี้คือจุดสำคัญมาก[/FONT][FONT=&quot]เพราะถ้ายิ่งฝึกบ่อยจะทำให้จิตและตาของเราจำภาพของกสินได้ง่ายขึ้น[/FONT][FONT=&quot]
    - [/FONT][FONT=&quot]สร้างจิตให้สงบอยู่เนื่องๆ ในช่วงเวลาดำเนินชีวิตตามปกติไม่ใช่ช่วงการฝึกสมาธิประจำวัน[/FONT][FONT=&quot]
    - [/FONT][FONT=&quot]พยายามรักษาดวงตาของเราอย่าให้แห้ง โดยดื่มน้ำมากๆ อย่าใช้สายตาฟุ้มเฟือย[/FONT][FONT=&quot]

    *[/FONT][FONT=&quot]ถ้า[/FONT][FONT=&quot]มีความตั้งใจจริง พยายามอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ มีศีลบริสุทธิ์[/FONT][FONT=&quot]คุมจิตใจและสมาธิอยู่เนืองๆ ระยะเวลาประมาณ [/FONT][FONT=&quot]1 [/FONT][FONT=&quot]เดือนย่อมเห็นถึงความก้าวหน้าครับ[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT][FONT=&quot]ที่มา : ลานธรรมเสวนา[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 8 มิถุนายน 2011
  2. rravikran

    rravikran เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2011
    โพสต์:
    297
    ค่าพลัง:
    +151
    เป็นบทความที่ดีมากๆครับ ภาพใหญ่ดี มองแล้วติดตาเลยครับ เหมาะกับการนำมานั่งเจริญภาวนา
     

แชร์หน้านี้

Loading...