พระอภิธรรมเล่ม ๘ อตีตัตติกะ ปัญหาวาร

ในห้อง 'พระไตรปิฎก เสียงอ่าน' ตั้งกระทู้โดย Kob, 17 มีนาคม 2011.

  1. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    [MUSIC]http://audio.palungjit.org/attachment.php?attachmentid=61296[/MUSIC]

    41-040 ปัญหาวาร


    ที่มาไฟล์เสียง ทดลองอ่าน พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมเล่ม ๘ - Buddhism Audio


    อตีตัตติกะ
    ปัญหาวาร
    [๑๙๑๗] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยเหตุปัจจัย
    คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐาน-
    *รูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
    [๑๙๑๘] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    คือ บุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แล้วพิจารณา
    พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน
    ออกจากฌาน พิจารณาฌาน
    พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณากิเลสที่ละแล้ว
    พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว
    พิจารณาเห็นจักขุที่เป็นอตีตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์
    โดยความเป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น
    โสตะที่เป็นอตีตธรรม ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
    หทัยวัตถุ ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความ
    เป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น
    ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น
    อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญ-
    *ญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย
    ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพ-
    *นิวาสานุสสติ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย
    [๑๙๑๙] อนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    คือ จักขุที่เป็นอนาคตธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตธรรม
    โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น
    ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่
    อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย
    [๑๙๒๐] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    คือ จักขุที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ฯลฯ กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
    หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส
    เกิดขึ้น
    บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
    รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
    ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย
    [๑๙๒๑] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปันนธรรม โดยอธิปติปัจจัย
    มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ
    กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
    แล้ว พิจารณา
    ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา
    พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
    พิจารณา กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา
    จักขุที่เป็นอตีตธรรม ฯลฯ กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทัยวัตถุ ฯลฯ
    บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตธรรมให้หนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
    เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น
    [๑๙๒๒] อนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปันนธรรม โดยอธิปติปัจจัย
    มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ จักขุที่เป็นอนาคตธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ
    ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี
    ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น
    ทิฏฐิ เกิดขึ้น
    [๑๙๒๓] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปันนธรรม โดยอธิปติปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ
    ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ จักขุที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ
    บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี
    ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น
    ทิฏฐิ เกิดขึ้น
    ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่
    สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย
    [๑๙๒๔] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอนันตรปัจจัย
    คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
    ปัจจุปปันนธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย
    อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภู เป็น
    ปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล ผล เป็นปัจจัยแก่ผล
    อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัย
    แก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย
    [๑๙๒๕] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยสมนันตรปัจจัย เหมือน
    กับอนันตรปัจจัย
    [๑๙๒๖] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยสหชาตปัจจัย
    เป็นปัจจัยโดย อัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดย นิสสยปัจจัย ฯลฯ
    [๑๙๒๗] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
    มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
    ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ฯลฯ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอตีตธรรม
    แล้ว ให้ทาน ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม ฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ มรรค ฯลฯ
    อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ
    บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอตีตธรรม ฯลฯ สัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย
    ฯลฯ ทุกข์ทางกายแล้ว ให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์
    ทำลายสงฆ์
    ศรัทธาที่เป็นอตีตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา ทุกข์ทางกาย ฯลฯ
    สุขทางกาย เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปัจจุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา
    ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย
    [๑๙๒๘] อนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
    มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
    ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลปรารถนาจักขุสมบัติที่เป็นอนาคตธรรม
    โสตสมบัติ ฯลฯ ฆานสมบัติ ชิวหาสมบัติ กายสมบัติ วรรณสมบัติ สัททสมบัติ คันธ-
    *สมบัติ รสสมบัติ ฯลฯ ปรารถนาโผฏฐัพพสมบัติ ปรารถนาขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตธรรมแล้ว
    ให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ
    จักขุสมบัติ ฯลฯ วรรณสมบัติ ฯลฯ โผฏฐัพพสมบัติ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
    อนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปัจจุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์
    ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย
    [๑๙๒๙] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
    มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
    ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยฤดูที่เป็นปัจจุปปันนธรรมแล้ว
    ยังฌานให้เกิดขึ้น วิปัสสนา ฯลฯ
    บุคคลเข้าไปอาศัยโภชนะที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ยังฌานให้เกิด
    ขึ้น ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น
    ฤดูที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
    ที่เป็นปัจจุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย
    [๑๙๓๐] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต
    ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นหทัยวัตถุ โดย
    ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น
    บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
    รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
    โดยปุเรชาตปัจจัย
    ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ
    เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม โดย
    ปุเรชาตปัจจัย
    [๑๙๓๑] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย
    คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน
    โดยปัจฉาชาตปัจจัย
    [๑๙๓๒] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอาเสวนปัจจัย
    คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
    ปัจจุปปันนธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย
    อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค
    โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอาเสวนปัจจัย
    [๑๙๓๓] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยกัมมปัจจัย
    มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก
    ขันธ์ที่เป็นปัจจุปปันนธรรม และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย
    [๑๙๓๔] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยกัมมปัจจัย
    คือ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป
    ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย
    ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
    กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย
    [๑๙๓๕] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยวิปากปัจจัย
    คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
    *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัย
    แก่หทัยวัตถุ โดยวิปากปัจจัย
    [๑๙๓๖] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอาหารปัจจัย
    เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดย มัคคปัจจัย เป็น
    ปัจจัยโดย สัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย วิปปยุตตปัจจัย
    มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต
    ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
    *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย
    ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย
    โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็น
    ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย
    ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ ฯลฯ
    หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย
    ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้
    ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย
    [๑๙๓๗] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอัตถิปัจจัย
    เหมือนกับอัตถิปัจจัย ในอุปปันนัตติกะ
    [๑๙๓๘] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัย
    โดย วิคตปัจจัย
    [๑๙๓๙] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอวิคตปัจจัย
    [๑๙๔๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
    ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓
    ในอธิปติปัจจัย มี " ๓
    ในอนันตรปัจจัย มี " ๑
    ในสมนันตรปัจจัย มี " ๑
    ในสหชาตปัจจัย
    ในอัญญมัญญปัจจัย
    ในนิสสยปัจจัย มีวาระ ๑
    ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓
    ในปุเรชาตปัจจัย
    ในปัจฉาชาตปัจจัย
    ในอาเสวนปัจจัย มีวาระ ๑
    ในกัมมปัจจัย มี " ๒
    ในวิปากปัจจัย
    ในอาหารปัจจัย มีวาระ ๑ ฯลฯ
    ในอวิคตปัจจัย มี " ๑
    พึงนับอย่างนี้
    อนุโลม จบ
    [๑๙๔๑] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น
    ปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย
    [๑๙๔๒] อนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น
    ปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย
    [๑๙๔๓] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย
    เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริย
    ปัจจัย
    [๑๙๔๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ฯลฯ
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มีวาระ ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๒
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๒
    พึงนับอย่างนี้
    ปัจจนียะ จบ
    [๑๙๔๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑
    พึงนับอย่างนี้
    อนุโลมปัจจนียะ จบ
    [๑๙๔๖] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
    ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ
    ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ
    ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ
    ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ
    ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
    ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
    ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
    ในปัจฉาชาตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย
    ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ฯลฯ
    ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒
    ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
    ในบทเหล่านี้ มีวาระอย่างละ ๑ เท่านั้น
    ในอวิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มี " ๑
    พึงนับอย่างนี้
    ปัจจนียานุโลม จบ
    ปัญหาวาร จบ
    อตีตัตติกะ ที่ ๑๘ จบ


    ที่มาเนื้อหา
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 มีนาคม 2011

แชร์หน้านี้

Loading...