สัมมาทิฏฐิสูตร " ว่าด้วยความเห็นชอบ"

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย บดินทร์จ้า, 7 มิถุนายน 2009.

  1. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ - หน้าที่ 63[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]๙. สัมมาทิฏฐิสูตร[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ว่าด้วยความเห็นชอบ [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๑๐] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้: [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิก [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ณ ที่นั้น ท่านพระสารีบุตรเรียกภิกษุทั้งหลายแล้ว ภิกษุพวกนั้น [/FONT]
    [FONT=&quot]รับคำท่านพระสารีบุตรแล้ว ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวคำนี้ว่า ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ที่เรียกว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]สัมมาทิฏฐิๆ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ อริยสาวกจึงจะชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไป [/FONT]
    [FONT=&quot]ตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้ พวกภิกษุกล่าวว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]ดูกรท่านผู้มีอายุ พวกกระผมมาจากที่ไกล ก็เพื่อจะรู้ทั่วถึงเนื้อความแห่งภาษิตนี้ ในสำนักของท่าน [/FONT]<o></o>>
    [FONT=&quot]พระสารีบุตร ดังพวกกระผมขอโอกาส เนื้อความแห่งภาษิตนี้ จงแจ่มแจ้งกะท่านพระสารีบุตรเถิด [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ภิกษุทั้งหลายได้ฟังต่อท่านพระสารีบุตรแล้ว จักทรงจำไว้ ท่านพระสารีบุตรตอบว่า ถ้าอย่างนั้น [/FONT]<o></o>>
    [FONT=&quot]จงฟังเถิด ท่านผู้มีอายุ จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุพวกนั้นรับคำท่านพระสารีบุตรแล้ว. [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๑๑] ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวคำนี้ว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดอริยสาวกรู้ชัดซึ่ง [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อกุศลและรากเง่าอกุศล รู้ชัดซึ่งกุศลและรากเง่าของกุศล แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้วประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พระสัทธรรมนี้ ก็อกุศลเป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ อยากได้ของผู้อื่น ปองร้ายเขา เห็นผิด อันนี้เรียกว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อกุศลแต่ละอย่างๆ รากเง่าของอกุศลเป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ โลภะ โทสะ โมหะ อันนี้เรียกว่ารากเง่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ของอกุศลแต่ละอย่างๆ กุศลเป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ ความเว้นจากฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิด [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ในกาม พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ ไม่อยากได้ของผู้อื่น ไม่ปองร้ายเขา [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เห็นชอบ อันนี้เรียกว่า กุศลแต่ละอย่างๆ รากเง่าของกุศลเป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ อโลภะ อโทสะ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อโมหะ อันนี้เรียกว่า รากเง่าของกุศลแต่ละอย่างๆ ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใด อริยสาวกรู้ชัด [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]
    [/FONT] [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ - หน้าที่ [/FONT]64<o></o>
    [FONT=&quot]ซึ่งอกุศลและรากเง่าของอกุศลอย่างนี้ๆ รู้ชัดซึ่งกุศลและรากเง่าของกุศลอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละ [/FONT]<o></o>>
    [FONT=&quot]ราคานุสัย บรรเทาปฏิฆานุสัย ถอนทิฏฐานุสัย และมานานุสัยว่า เรามีอยู่โดยประการทั้งปวง [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ละอวิชชา ยังวิชชาให้เกิด ย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์ในปัจจุบันนี้เทียว แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใสอัน [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้ [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๑๒] ภิกษุเหล่านั้นชื่นชม อนุโมทนาภาษิตของท่านพระสารีบุตรว่า สาธุ ท่านผู้มีอายุ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แล้วได้ถามปัญหากะท่านพระสารีบุตรต่อไปว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือปริยายแม้อย่างอื่น [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ที่อริยสาวกซึ่งชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใส [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้[/FONT]
    [FONT=&quot] อาหารวาร [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๑๓] ท่านพระสารีบุตรตอบว่า พึงมีอยู่ ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดอริยสาวกรู้ชัดซึ่งอาหาร[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เหตุเกิดแห่งอาหาร ความดับอาหาร และทางที่จะให้ถึงความดับอาหาร แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็อาหาร เหตุเกิดแห่งอาหาร ความดับอาหาร[/FONT]>
    [FONT=&quot]ทางที่จะให้ถึงความดับอาหาร เป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่อาหาร ๔ อย่างเหล่านี้ เพื่อความดำรงอยู่ของหมู่ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]สัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือเพื่ออนุเคราะห์เหล่าสัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด อาหาร ๔ อย่างเป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]คือ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]๑ อาหาร คือ คำข้าว หยาบหรือละเอียด[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]๒ อาหาร คือ ผัสสะ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]๓ อาหาร คือ ความคิดอ่าน [จงใจ] [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]๔ อาหาร คือ วิญญาณ [ความรู้แจ้งทางทวาร ๖] [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] เหตุเกิดแห่งอาหารย่อมมีเพราะตัณหาเป็นเหตุให้เกิด ความดับอาหารย่อมมีเพราะตัณหา [/FONT]
    [FONT=&quot]ดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ ดำริชอบ เจรจาชอบ การงานชอบ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เลี้ยงชีพชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ ตั้งใจชอบ ชื่อว่าทางที่จะให้ถึงความดับอาหาร ดูกรท่าน [/FONT]
    [FONT=&quot]ผู้มีอายุ เมื่อใด อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอาหาร เหตุเกิดแห่งอาหาร ความดับอาหาร ทางที่จะให้ถึง[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ความดับอาหารอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย บรรเทาปฏิฆานุสัย ถอนทิฏฐานุสัย และ [/FONT]<o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 มิถุนายน 2009
  2. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ - หน้าที่ [/FONT]65
    [FONT=&quot]มานานุสัย ว่าเรามีอยู่ โดยประการทั้งปวง ละอวิชชา ยังวิชชาให้เกิด ย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์ [/FONT]
    [FONT=&quot]ในปัจจุบันนี้เทียว แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไป [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้. [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๑๔] ภิกษุเหล่านั้น ชื่นชม อนุโมทนาภาษิตของท่านพระสารีบุตรว่า สาธุ ท่านผู้มีอายุ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แล้วได้ถามปัญหากะท่านพระสารีบุตรต่อไปว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น [/FONT]<o></o>>
    [FONT=&quot]อริยสาวก ... มาสู่พระสัทธรรมนี้. [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] สัจจวาร [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๑๕] ท่านพระสารีบุตรตอบว่า พึงมีอยู่ ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดอริยสาวกรู้ชัดซึ่งทุกข์[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็น [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]สัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็ทุกข์เป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ ความเกิด ความแก่ ความตาย ความ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แห้งใจ ความพิไรรำพัน ความไม่สบายกาย ความเสียใจ ความคับแค้นใจ ความประจวบกับ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]สิ่งไม่เป็นที่รัก ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รัก ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สมหวัง แต่ละอย่างๆ ล้วน [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เป็นทุกข์ โดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นทุกข์ อันนี้เรียกว่า ความทุกข์ ก็ทุกขสมุทัยเป็นไฉน[/FONT]? <o></o>
    [FONT=&quot]ได้แก่ ตัณหาอันทำให้เกิดในภพใหม่ ประกอบด้วยความกำหนัด ด้วยสามารถแห่งความเพลิน [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เพลิดเพลินยิ่งในอารมณ์นั้นๆ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา อันนี้เรียกว่า ทุกขสมุทัย [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ทุกขนิโรธเป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ความดับด้วยสามารถแห่งความสำรอกโดยไม่เหลือ ความสละ ความ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]วาง ความปล่อย ความไม่พัวพัน แห่งตัณหานั้นแหละ อันนี้เรียกว่า ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]คามินีปฏิปทาเป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ ... [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ความตั้งใจชอบ อันนี้เรียกว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ดูกรผู้มีอายุ เมื่อใด อริยสาวกรู้ชัดซึ่งทุกข์ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้.[/FONT]
    [FONT=&quot] ชรามรณวาร[/FONT]
    [[FONT=&quot]๑๑๖] ภิกษุเหล่านั้น ชื่นชม อนุโมทนาภาษิตของท่านพระสารีบุตรว่า สาธุ ท่านผู้มีอายุ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แล้วได้ถามปัญหากะท่านพระสารีบุตรต่อไปว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น [/FONT]>
    [FONT=&quot]อริยสาวก ... มาสู่พระสัทธรรมนี้.[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT] [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ - หน้าที่ [/FONT]66<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๑๗] ท่านพระสารีบุตรตอบว่า พึงมีอยู่ ท่านผู้มีอายุ เมื่อใด อริยสาวกรู้ชัดซึ่งชรา [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]และมรณะ เหตุเกิดแห่งชราและมรณะ ความดับชราและมรณะ และทางที่จะให้ถึงความดับชรา [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]และมรณะ แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็ชรา [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]และมรณะ เหตุเกิดแห่งชราและมรณะ ความดับชราและมรณะ ทางที่จะให้ถึงความดับชราและ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]มรณะ เป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ความแก่ ความคร่ำคร่า ฟันหลุด ผมหงอก หนังย่น ความเสื่อมแห่ง [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อายุ ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ อันนี้เรียกว่าชรา ความจุติ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ความเคลื่อนไป ความแตกทำลาย ความหายไป มฤตยู ความตาย ความทำกาละ ความแตก [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แห่งขันธ์ ความทิ้งซากศพไว้ ความขาดไปแห่งชีวิตินทรีย์จากหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อันนี้เรียกว่ามรณะ ชราและมรณะ ดังพรรณนามาฉะนี้ เรียกว่า ชราและมรณะ เหตุเกิดแห่งชรา [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]และมรณะ ย่อมมีเพราะชาติเป็นเหตุให้เกิด ความดับชราและมรณะ ย่อมมีเพราะชาติดับ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ [/FONT]<o></o>>
    [FONT=&quot]ถึงความดับชราและมรณะ ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งชราและมรณะ เหตุเกิด [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แห่งชราและมรณะ ความดับชราและมรณะ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับแห่งชราและมรณะ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย ฯลฯ แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้. [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] ชาติวาร [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๑๘] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ท่านพระสารีบุตรตอบว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งชาติ เหตุเกิดแห่งชาติ ความดับชาติ และ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับชาติ แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พระสัทธรรมนี้ ก็ชาติ เหตุเกิดแห่งชาติ ความดับชาติ ปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับชาติ เป็นไฉน[/FONT]?<o></o>
    [FONT=&quot]ความเกิด ความบังเกิด ความหยั่งลง เกิด เกิดเฉพาะ ความปรากฏแห่งขันธ์ ความได้อายตนะ [/FONT]
    [FONT=&quot]ครบ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ อันนี้เรียกว่า ชาติ เหตุเกิดแห่งชาติย่อมมีเพราะภพ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เป็นเหตุให้เกิด ความดับชาติย่อมมี เพราะภพดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับชาติ ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อริยสาวกรู้ชัดซึ่งชาติ เหตุเกิดแห่งชาติ ความดับชาติและปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับชาติอย่างนี้ๆ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]สัทธรรมนี้ [/FONT]<o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 มิถุนายน 2009
  3. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ - หน้าที่ [/FONT]67<o></o>
    [FONT=&quot] ภวาทิวาร [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๑๙] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งภพ เหตุเกิดแห่งภพ ความดับภพ และปฏิปทา [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ที่จะให้ถึงความดับภพ แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ก็ภพ เหตุเกิดแห่งภพ ความดับภพ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับภพ เป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ ภพ ๓ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เหล่านี้ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ เหตุเกิดแห่งภพ ย่อมมีเพราะอุปาทานเป็นเหตุให้เกิด [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ความดับภพ ย่อมมีเพราะอุปาทานดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ [/FONT]>
    [FONT=&quot]ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับภพ ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัด [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ซึ่งภพ เหตุเกิดแห่งภพ ความดับภพ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับภพอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้. [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๒๐] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอุปทาน เหตุเกิดแห่งอุปทาน ความดับอุปทาน [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอุปทาน แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ...[/FONT]
    [FONT=&quot]มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็อุปาทาน เหตุเกิดแห่งอุปาทาน ความดับอุปาทาน และปฏิปทาที่จะให้ถึง [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ความดับอุปาทาน เป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ อุปาทาน ๔ คือ กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพัตตุปาทาน [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อัตตวาทุปาทาน เหตุเกิดแห่งอุปาทาน ย่อมมีเพราะตัณหาเป็นเหตุให้เกิด ความดับอุปาทาน [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ย่อมมีเพราะตัณหาดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอุปทาน ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอุปาทาน [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เหตุเกิดแห่งอุปาทาน ความดับอุปาทาน และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอุปาทานอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้. [/FONT]<o></o>>
    [FONT=&quot] ตัณหาทิวาร [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๒๑] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งตัณหา เหตุเกิดแห่งตัณหา ความดับแห่งตัณหา [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับตัณหา แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]
    [/FONT] [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ - หน้าที่ [/FONT]68<o></o>
    [FONT=&quot]มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็ตัณหา เหตุเกิดแห่งตัณหา ความดับตัณหา และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ตัณหาเป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ ตัณหา ๖ หมวดเหล่านี้ คือ ตัณหาในรูป ตัณหาในเสียง ตัณหาในกลิ่น [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ตัณหาในรส ตัณหาในโผฏฐัพพะ ตัณหาในธรรม เหตุเกิดแห่งตัณหา ย่อมมีเพราะเวทนาเป็น [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เหตุให้เกิด ความดับตัณหา ย่อมมีเพราะเวทนาดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ [/FONT]
    [FONT=&quot]ความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับตัณหา ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อริยสาวกรู้ชัดซึ่งตัณหา เหตุเกิดแห่งตัณหา ความดับตัณหา และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับตัณหา[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]มาสู่พระสัทธรรมนี้. [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๒๒] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งเวทนา เหตุเกิดแห่งเวทนา ความดับเวทนา และ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับเวทนา แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พระสัทธรรมนี้ ก็เวทนา เหตุเกิดแห่งเวทนา ความดับเวทนา และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เวทนา เป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่เวทนา ๖ หมวดเหล่านี้ คือ เวทนาที่เกิดแต่จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดแต่ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]โสตสัมผัส เวทนาที่เกิดแต่ฆานสัมผัส เวทนาที่เกิดแต่ชิวหาสัมผัส เวทนาที่เกิดแต่กายสัมผัส [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เวทนาที่เกิดแต่มโนสัมผัส เหตุเกิดเวทนา ย่อมมีเพราะผัสสะเป็นเหตุให้เกิด ความดับเวทนา [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ย่อมมีเพราะผัสสะดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ [/FONT]<o></o>>
    [FONT=&quot]ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับเวทนา ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งเวทนา เหตุ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เกิดแห่งเวทนา ความดับเวทนา และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับเวทนาอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่าน [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้. [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๒๓] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งผัสสะ เหตุเกิดแห่งผัสสะ ความดับผัสสะ และ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับผัสสะ แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่ [/FONT]
    [FONT=&quot]พระสัทธรรมนี้. ก็ผัสสะ เหตุเกิดแห่งผัสสะ ความดับผัสสะ และทางที่จะให้ถึงความดับผัสสะ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ ผัสสะ ๖ หมวด คือ จักขุสัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส [/FONT]<o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 มิถุนายน 2009
  4. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ - หน้าที่ [/FONT]69<o></o>
    [FONT=&quot]กายสัมผัส มโนสัมผัส เหตุเกิดแห่งผัสสะ ย่อมมีเพราะอายนะ ๖ เป็นเหตุให้เกิด ความดับผัสสะ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ย่อมมีเพราะผัสสะดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ [/FONT]<o></o>>
    [FONT=&quot]ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับผัสสะ ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งผัสสะ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เหตุเกิดแห่งผัสสะ ความดับผัสสะ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับผัสสะอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่าน[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้. [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๒๔] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอายตนะ ๖ เหตุเกิดแห่งอายตนะ ๖ ความดับ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แห่งอายตนะ ๖ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอายตนะ ๖ แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็อายตนะ ๖ เหตุเกิดแห่งอายนะ ๖ ความดับอายตนะ ๖ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอายตนะ ๖ เป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ อายตนะ ๖ เหล่านี้ คือ ตา หู จมูก [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ลิ้น กาย ใจ เหตุเกิดแห่งอายตนะ ๖ ย่อมมีเพราะนามรูปเป็นเหตุให้เกิด ความดับอายตนะ ๖ ย่อมมี [/FONT]<o></o>>
    [FONT=&quot]เพราะนามรูปดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอายตนะ ๖ ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอายตนะ ๖ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เหตุเกิดอายตนะ ๖ ความดับอายตนะ ๖ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอายตนะ ๖ อย่างนี้ๆ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]สัทธรรมนี้. [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] นามรูปาทิวาร [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๒๕] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งนามรูป เหตุเกิดแห่งนามรูป ความดับนามรูป[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับนามรูป แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็นามรูป เหตุเกิดแห่งนามรูป ความดับนามรูป และปฏิปทาที่จะให้ถึงความ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ดับนามรูป เป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ อันนี้เรียกว่า นาม มหาภูต [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]รูป ๔ และรูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔ อันนี้เรียกว่ารูป นามและรูปดังพรรณนามาฉะนี้ เรียกว่า นามรูป [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เหตุเกิดแห่งนามรูป ย่อมมีเพราะวิญญาณเป็นเหตุให้เกิด ความดับนามรูป ย่อมมีเพราะวิญญาณ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทา [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]
    [/FONT] [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ - หน้าที่ [/FONT]70<o></o>
    [FONT=&quot]ที่จะให้ถึงความดับนามรูป ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งนามรูป เหตุเกิดแห่ง [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]นามรูป ความดับนามรูป และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับนามรูปอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละราคา [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]นุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้. [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๒๖] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งวิญญาณ เหตุเกิดแห่งวิญญาณ ความดับวิญญาณ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]และทางที่จะให้ถึงความดับวิญญาณ แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่ [/FONT]<o></o>>
    [FONT=&quot]พระสัทธรรมนี้ ก็วิญญาณ เหตุเกิดแห่งวิญญาณ ความดับวิญญาณ ปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับวิญญาณ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ วิญญาณ ๖ หมวดเหล่านี้ คือ จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ เหตุเกิดแห่งวิญญาณ ย่อมมีเพราะสังขารเป็นเหตุ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ให้เกิด ความดับวิญญาณ ย่อมมีเพราะสังขารดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับวิญญาณ ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใด [/FONT]
    [FONT=&quot]แล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งวิญญาณ เหตุเกิดแห่งวิญญาณ ความดับวิญญาณ ปฏิปทาที่จะให้ถึงความ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ดับวิญญาณ อย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็น [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]สัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้. [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] สังขารวาร [/FONT]
    [[FONT=&quot]๑๒๗] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งสังขาร เหตุเกิดแห่งสังขาร ความดับสังขาร และ [/FONT]
    [FONT=&quot]ปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับสังขาร แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พระสัทธรรมนี้ ก็สังขาร เหตุเกิดแห่งสังขาร ความดับสังขาร ทางที่จะให้ถึงความดับสังขาร [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ สังขาร ๓ เหล่านี้ คือ กายสังขาร วจีสังขาร จิตตสังขาร เหตุเกิดแห่งสังขาร[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ย่อมมีเพราะอวิชชาเป็นเหตุให้เกิด ความดับสังขาร ย่อมมีเพราะอวิชชาดับ อริยมรรคประกอบ [/FONT]
    [FONT=&quot]ด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ ... ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าทางที่จะให้ถึงความดับสังขาร[/FONT]
    [FONT=&quot]ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ขัดซึ่งสังขาร เหตุเกิดแห่งสังขาร ความดับสังขาร ปฏิปทา [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ที่จะให้ถึงความดับสังขารอย่างนี้ๆ เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวก [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... มาสู่พระสัทธรรมนี้. [/FONT]<o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 มิถุนายน 2009
  5. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ - หน้าที่ [/FONT]71<o></o>
    [FONT=&quot] อวิชชาวาร [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๒๘] ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือ ปริยายแม้อย่างอื่น ... ท่านพระสารีบุตรตอบว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอวิชชา เหตุเกิดแห่งอวิชชา ความดับอวิชชา[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอวิชชา แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ... [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็อวิชชา เหตุเกิดแห่งอวิชชา ความดับอวิชชา และปฏิปทาที่จะให้ถึงความ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ดับอวิชชา เป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ความไม่รู้ในทุกข์ ในเหตุเกิดแห่งทุกข์ ในความดับทุกข์ ในปฏิปทาที่จะให้ถึง [/FONT]<o></o>>
    [FONT=&quot]ความดับทุกข์ อันนี้เรียกว่าอวิชชา เหตุเกิดแห่งอวิชชา ย่อมมีเพราะอาสวะเป็นเหตุให้เกิด [/FONT]
    [FONT=&quot]ความดับอวิชชา ย่อมมีเพราะอาสวะดับ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือความเห็นชอบ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ความตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอวิชชา ดูกรท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวก [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]รู้ชัดซึ่งอวิชชา เหตุเกิดแห่งอวิชชา ความดับอวิชชา ทางที่จะให้ถึงความดับอวิชชาอย่างนี้ๆ เมื่อ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]นั้น ท่านละราคานุสัย ... แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนิน[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้.[/FONT]
    [[FONT=&quot]๑๒๙] ภิกษุเหล่านั้น ชื่นชม อนุโมทนาภาษิตของท่านพระสารีบุตรว่า สาธุ ท่านผู้มีอายุ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]แล้วได้ถามปัญหากะท่านพระสารีบุตรต่อไปว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ จะพึงมีอยู่หรือปริยายแม้อย่างอื่น [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ที่อริยสาวกซึ่งชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใส [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้. [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] อาสววาร [/FONT]<o></o>
    [[FONT=&quot]๑๓๐] ท่านพระสารีบุตรตอบว่า พึงมี ท่านผู้มีอายุ เมื่อใดแล อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอาสวะ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อาสวสมุทัย อาสวนิโรธ อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่า [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]มาสู่พระสัทธรรมนี้ ก็อาสวะ เหตุเกิดแห่งอาสวะ ความดับอาสวะ ทางที่จะให้ถึงความดับอาสวะ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เป็นไฉน[/FONT]? [FONT=&quot]ได้แก่ อาสวะ ๓ เหล่านี้ คือ กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ เหตุเกิดแห่งอาสวะ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ย่อมมีเพราะอวิชชาเป็นเหตุให้เกิด ความดับอาสวะ ย่อมมีเพราะอวิชชาดับ อริยมรรคประกอบ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ด้วยองค์ ๘ นี้แหละ คือ ความเห็นชอบ ดำริชอบ เจรจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พยายามชอบ ระลึกชอบ ตั้งใจชอบ ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอาสวะ ดูกรท่านผู้มีอายุ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เมื่อใด อริยสาวกรู้ชัดซึ่งอาสวะ เหตุเกิดแห่งอาสวะ ความดับอาสวะ ปฏิปทาที่จะให้ถึงความ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ดับอาสวะ อย่างนี้ๆ เมื่อนั้นท่านละราคานุสัย บรรเทาปฏิฆานุสัย ถอนทิฏฐานุสัย และ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]
    [/FONT] [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ - หน้าที่ [/FONT]72<o></o>
    [FONT=&quot]มานานุสัย โดยประการทั้งปวง ละอวิชชา ยังวิชชาให้เกิด ย่อมกระทำซึ่งที่สุดแห่งทุกข์ในปัจจุบัน [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เทียว แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้. [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวคำนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้น ชื่นชม ยินดีภาษิตของท่านพระสารี [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]บุตรแล้วแล. [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] จบ สัมมาทิฏฐิสูตร ที่ ๙ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] ดูกรท่านผู้มีอายุ ก็ ๖ บทที่กล่าวว่าเป็นไฉน ได้แก่ ทุกข์ ชรามรณะ อุปาทาน อายตนะ ๖ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]นามรูป วิญญาณ ๔ บทที่กล่าวว่าเป็นไฉน ได้แก่ ชาติ ตัณหา เวทนา และหมวด ๔ แห่งอวิชชา ๕ [/FONT]<o></o>>
    [FONT=&quot]บทที่กล่าวว่าเป็นไฉน ได้แก่ อาหาร ภพ ผัสสะ สังขาร อาสวะเป็นที่ ๕ หกอย่างเป็นไฉน[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ข้าพเจ้าได้กล่าวแล้ว สี่อย่างเป็นไฉน ข้าพเจ้าได้กล่าวแล้ว ห้าอย่างเป็นไฉน ข้าพเจ้าได้กล่าวแล้ว [/FONT]<o></o>>
    [FONT=&quot]บทแห่งสังขารทั้งปวง มี ๑๕ บท ฉะนี้แล. [/FONT]<o></o>
    ______________________ <o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 มิถุนายน 2009
  6. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    [​IMG]
     

แชร์หน้านี้

Loading...