เผยภาพแรก “ดวงอาทิตย์” มุมหน้าหลังเต็มๆ จากยานแฝด "สเตอริโอ"

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย สังขารไม่เที่ยง, 11 กุมภาพันธ์ 2011.

  1. สังขารไม่เที่ยง

    สังขารไม่เที่ยง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    5,943
    ค่าพลัง:
    +24,697
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เผยภาพแรก “ดวงอาทิตย์” มุมหน้าหลังเต็มๆ จากยานแฝด "สเตอริโอ"</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>10 กุมภาพันธ์ 2554 12:52 น.</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><IFRAME style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 450px; HEIGHT: 35px; OVERFLOW: hidden; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none" src="http://www.facebook.com/plugins/like.php?href=http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9540000017940&layout=standard&show_faces=false&width=450&action=like&colorscheme=light&height=35" frameBorder=0 allowTransparency scrolling=no></IFRAME></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD height=1 vAlign=bottom width=1 align=right>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=bottom background=/images/linedot_hori.gif align=middle>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=bottom width=1 align=left>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center background=/images/linedot_vert.gif width=1 align=middle>[​IMG]</TD><TD><TABLE border=0 cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center background=/images/linedot_vert.gif width=1 align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD height=1 vAlign=top width=1 align=right>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=top background=/images/linedot_hori.gif align=middle>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=top width=1 align=left>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>ภาพด้านหน้าและด้านหลังของดวงอาทิตย์ที่ยานแฝดสเตอริโอบันทึกไว้ โดยนักวิจัยใด้ปรับภาพทั้งสองให้เป็นภาพทรงกลม </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=12 vAlign=bottom align=left>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width=160 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ภาพวาดจำลองหอดูดาวสเตอริโอโคจรรอบดวงอาทิตย์และมาอยู่ตรงข้ามกัน และทำมุมกัน 180 องศา จนภาพหน้าหลังของดวงอาทิตย์</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ภาพจำลองหอดูดาวอวกาศสเตอริโอ (ภาพประกอบทั้งหมดจากนาซา)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=1 vAlign=center width=165 align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=/images/linedot_vert3.gif width=4>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=7 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>นาซาปล่อยภาพแรกในมุมหน้าหลังของดวงอาทิตย์ ที่รวมเป็นภาพวงกลมเดียว บันทึกโดยยานแฝด “สเตอริโอ” ที่ส่งขึ้นไปเมื่อเกือบ 5 ปีที่แล้ว ซึ่งเผยให้เห็นทรงกลมของพลาสมาร้อน และสนามแม่เหล็กที่ราวกับถักทออย่างประณีต

    แองเจลอส วอร์ลิดัส (Angelos Vourlidas) สมาชิกทีมวิทยาศาสตร์ของหอดูดาวอวกาศสเตอริโอ (Solar Terrestrial Relations Observatory: STEREO) กล่าวกับเอเอฟพี ว่าเป็นครั้งแรก ที่เราสามารถเฝ้าดูกิจกรรมของดวงอาทิตย์ได้ในรูปแบบ 3 มิติ ซึ่งกล้องของยานสเตอริโอได้เผยให้เห็นดวงอาทิตย์ในอย่างที่ดวงอาทิตย์เป็น นั่นคือ ทรงกลมของพลาสมาร้อน และสนามแม่เหล็กที่ราวกับถูกถักทออย่างดี

    ทั้งนี้ ข้อมูลจากเว็บไซต์องค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ระบุว่า ยานแฝดสเตอริโอแต่ละตัว ได้บันทึกภาพดวงอาทิตย์ครึ่งดวง เมื่อโคจรมาอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามกันในแต่ละด้านของดวงอาทิตย์ แล้วส่งสัญญาณภาพกลับมายังโลก จากนั้นนักวิจัยได้รวมภาพทั้งสองให้กลายเป็นภาพวงกลม ดังนั้น ภาพที่เผยออกมาจึงไม่ใช่ภาพปกติ

    กล้องโทรทรรศน์ของสเตอริโอ ถูกปรับเพื่อบันทึกความยาวคลื่นของการแผ่รังสีอัลตราไวโอเลตรุนแรง 4 ย่าน ซึ่งถูกเลือกเพื่อติดตามลักษณะสำคัญของกิจกรรมบนดวงอาทิตย์ เช่น การลุกจ้า (flare) สึนามิสนามแม่เหล็กและเส้นแรงสนามแม่เหล็ก เป็นต้น และไม่มีสิ่งใดเล็ดลอดการจับจาของหอดูดาวอวกาศทั้งสองไปได้

    “นี่เป็นช่วงเวลาสำคัญของฟิสิกส์สุริยะ” วอร์ลิดัสให้ความเห็น

    ด้าน ลิกา กุฮาธาคัวร์ตา (Lika Guhathakurta) นักวิทยาศาสตร์ของโครงการสเตอริโอ จากสำนักงานใหญ่นาซา กล่าวว่า ด้วยข้อมูลลักษณะที่ได้มานี้ ทำให้เราส่งยานไปบินรอบๆ ดวงอาทิตย์เพื่อดูว่าเกิดอะไรขึ้นที่ขอบฟ้าดวงอาทิตย์ โดยที่เราไม่ต้องละจากแผนก ซึ่งสิ่งที่เขาคาดหวังคือความก้าวหน้าอันยิ่งใหญ่ฟิสิกส์สุริยะเชิงทฤษฎี และการพยากรณ์สภาพอวกาศ (space weather)

    ทั้งนี้ ในอดีตจุดมืดที่ทรงพลัง อาจอุบัติขึ้นทางด้านที่ไม่มองจากโลกไม่เห็น ดังนั้น เมื่อดวงอาทิตย์หมุน จะทำให้บริเวณดังกล่าวหันตรงมายังโลกของเรา แล้วปลดปล่อยการปะทุ พร้อมเมฆพลาสมา โดยที่เรามีเวลาเตือนภัยเพียงเล็กน้อย

    “จะไม่เป็นแบบนั้นอีกแล้ว” บิลล์ มัวร์ทาฟ (Bill Murtagh) นักพยากรณ์อาวุโสจากศูนย์คาดการณ์สภาพอวกาศ ขององค์การบริหารสมุทศาสตร์และบรรยากาศสหรัฐฯ (National Oceanic and Atmospheric Administration) หรือโนอา (NOAA) กล่าว และบอกด้วยกิจกรรมซึ่งอยู่ในด้านที่มองไม่เห็นนั้นไม่อาจสร้างความประหลาดใจได้แก่เราได้อีกแล้ว เรารู้จะแน่ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวจะเกิดขึ้น

    ทั้งนี้ โนอาเองได้ใช้แบบจำลอง 3 มิติจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศสเตอริโอ เพื่อปรับปรุงการพยากรณ์สภาพอวกาศ สำหรับเตือนสายการบิน บริษัทผลิตกระแสไฟฟ้า ผู้ดูแลดาวเทียมและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ

    นาซาระบุว่า ยานสเตอริโอถูกส่งขึ้นไปเมื่อเดือน ต.ค.2006 และได้ศึกษาการไหลของพลังงานและสสารจากดวงอาทิตย์มายังโลก เมื่อถึงปี 2007 ยานอวกาศแฝดได้บนทึกภาพ 3 มิติของดวงอาทิตย์ และในปี 2009 ได้สังเกตการณ์ระเบิดที่รุนแรงที่เรียกว่า “การพ่นมวลของชั้นโคโรนา” (coronal mass ejections) หรือ “ซีเอ็มอี” (CME) ซึ่งสามารถรบกวนระบบสื่อสาร การทำงานของดาวเทียม ระบบนำร่องและสายส่งไฟฟ้าของโลกได้


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=10 vAlign=top align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...