:+:+:+: โลกมันฝรั่ง :+:+:+:

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย น า ทู รี, 9 เมษายน 2011.

  1. น า ทู รี

    น า ทู รี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    152
    ค่าพลัง:
    +164
    เผยภาพ “โลกมันฝรั่ง” รูปร่างตามแรงโน้มถ่วง <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td valign="middle"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="middle">ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="middle">
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td>
    </td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ภาพ โลกรูปมันฝรั่งแสดงให้เห็นแรงโน้มถ่วงที่กระทำต่างกันไปแต่ละจุด ภาพนี้เป็นโลกในโซนทวีปยุโรปและทวีปอเมริกา โดยบริเวณที่มีแรงโน้มถ่วงเข้มจะเป็นสีเหลือง ไล่เฉดไปสีแดง และสีน้ำเงินมีแรงโน้มถ่วงต่ำสุด (ภาพทั้งหมดจากบีบีซีนิวส์)</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ภาพโลกมันฝรั่งแสดงความเข้มของแรงโน้มถ่วงในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกและแนววงแหวนแห่งไฟ (Ring of Fire)</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ภาพ นี้สร้างขึ้นจากข้อมูลของดาวเทียมจอซ ทั้งนี้ เพื่อเข้าใจการไหลเวียนของกระแสน้ำในมหาสมุทร เราจำเป็นต้องทำความเข้าใจต่อเรื่องแรงโน้มถ่วงด้วย </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ดาวเทียมจอซเห็นความแตกต่างของแรงโน้มถ่วงที่เกาะญี่ปุ่นและขอบเปลือกโลก (สีน้ำเงิน) ที่เป็นสาเหตุของแผ่นดินไหว </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ภาพจำลองแสดงดาวเทียมจอซในวงโคจรซึ่งอยู่ต่ำกว่าดาวเทียมดวงอื่นๆ ที่ใช้งานอยู่ </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> เผยรูปร่างคล้ายมันฝรั่ง ที่แสดงลักษณะของโลกตามแรงโน้มถ่วง โชว์ให้เห็นแรงดึงดูดใต้เท้าเรานั้นไม่เท่ากันในแต่ละตำแหน่งทั่วโลก

    โดยบริเวณที่แรงโน้มถ่วงเข้มสุด แทนด้วยบริเวณสีเหลือง และบริเวณที่แรงโน้มถ่วงอ่อนสุด แทนด้วยสีน้ำเงิน


    ภาพรูปโลกคล้ายมันฝรั่งนี้ เป็นข้อมูลที่ได้จากดาวเทียมจอซ (Gravity Field and Steady-State Ocean Circulation Explorer: Goce) ดาวเทียมสำรวจสนามโน้มถ่วงและการไหลเวียนของมหาสมุทร

    ซึ่งจะนำไปสู่ความเข้าใจ ต่อแรงที่ดึงเราลงและวิธีที่แรงโน้มถ่วง มีผลต่อกระบวนการสำคัญบางอย่างบนโลก

    รวมถึงมุมมองที่ชัดเจนขึ้น ว่ามหาสมุทรนั้นไหลเวียนอย่างไร และมหาสมุทรนั้นกระจายความร้อนที่ได้รับจากดวงอาทิตย์อย่างไร

    ข้อมูลเหล่านี้ มีความสำคัญต่อการศึกษาภูมิอากาศ รวมถึงการศึกษาแผ่นดินไหวด้วย

    ซึ่งบีบีซีนิวส์ ระบุว่า ข้อมูลจากดาวเทียมจอซนั้นจะเผยให้เห็นภาพ 3 มิติ ว่ากำลังเกิดอะไรขึ้นภายในโลก

    แม้ว่าดาวเทียมจอซ จะจับสัญญาณการเคลื่อนย้ายมวลขนาดใหญ่บนโลก ซึ่งทำให้เกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่เกิดในญี่ปุ่นเมื่อเร็วๆ นี้ และในชิลีเมื่อปีที่ผ่านมาได้เพียงเล็กน้อย

    แต่ ดร.โจฮันเนสบัวแมน (Dr.Johannes Bouman) จากสถาบันวิจัยด้านสัณฐานและมิติของโลกแห่งเยอรมนี (German Geodetic Research Institute: DGFI) กล่าวว่า ก็ยังมีโอกาสได้เห็นข้อมูลดังกล่าว

    ในทางเทคนิคแล้ว นักวิจัยเรียกภาพโลกเบี้ยวๆ รูปมันฝรั่งนี้ว่า “จีออยด์” (geoid) ซึ่งไม่ใช่แนวคิดง่ายที่สุดที่จะเข้าใจ

    แต่ก็สามารถอธิบายระดับพื้นผิวของโลกในอุดมคติได้ ณ ตำแหน่งพื้นผิวบนขอบฟ้าตะปุ่มตะป่ำของโลกรูปมันฝรั่งนั้น มีแรงดึงดูดที่กระทำต่อพื้นผิวในแนวตั้งฉาก

    อธิบายได้อีกทางหนึ่งว่า หากเราวางลูกบอลไว้ที่ตำแหน่งใดก็ตามบนรูปโลกมันฝรั่งนี้ ลูกบอลที่เราวางจะไปไม่กลิ้งไปไหน

    เพราะ ณ จุดที่ลูกบอลอยู่นั้นไม่มี “ขึ้น” หรือ “ลง” บนพื้นผิวลุ่มๆ ดอนๆ นี้ และยังเป็นสัณฐานที่มหาสมุทรควรจะเป็น หากไม่มีลม ไม่มีกระแสหรือปรากฏการณ์น้ำขึ้นน้ำลง

    จากภาพโลกเบี้ยวๆ นี้ เรือที่ชายฝั่งยุโรป (ในพื้นที่สีเหลืองสว่าง) อยู่ในตำแหน่งที่
    ”สูงกว่า” เรือที่กลางมหาสมุทรอินเดีย (ในพื้นที่สีน้ำเงินเข้ม) 180 เมตร

    แต่เรือทั้งสองลำยังอยู่ในระนาบเดียวกัน ซึ่งเป็นลักษณะที่แรงดึงดูดกระทำต่อโลก

    เนื่องจาก โลกที่เราอาศัยอยู่นั้น ไม่ได้กลมเกลี้ยง และมวลภายในโลกก็ไม่ได้กระจายอย่างสม่ำเสมอ

    ดาวเทียมจอซถูกส่งขึ้นไปเมื่อเดือน มี.ค.2009 โดยโคจรรอบโลกจากในแนวขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต้ ที่ระดับความสูง 254.9 กิโลเมตร ซึ่งเป็นวงโคจรต่ำสุด สำหรับดาวเทียมวิจัยที่ยังทำงานอยู่ในปัจจุบัน

    โดยดาวเทียมมีกล่องแพลตตินัม 3 กล่องที่ภายในบรรจุเครื่องวัดความลาดเอียง (gradiometer) ที่ไว้ต่ออัตราเร่งแม้เพียงเล็กน้อยได้อย่างน่าทึ่ง

    ด้วคุณสมบัติที่ไม่ธรรมดานี้ทำให้ดาวเทียมจอซสามารถทำแผนที่ความแตก ต่างของแรงดึงดูดเพียงเล็กน้อย บนจุดต่างๆ ของโลก ไปจนถึงความแตกต่างที้ชัดเจนระหว่างแนวเทือกเขาขนาดใหญ่กับร่องลึกที่สุดใน มหาสมุทร

    ทั้งนี้ ภาพแผนที่แรงโน้มถ่วงชุดแรกได้รับการเผยแพร่เมื่อเดือน มิ.ย.ปีที่ผ่านมา และชุดล่าสุดนี้เป็นชุดที่สองซึ่งเผยแพร่ในการประชุมของนักวิทยาศาสตร์ประจำ โครงการดาวเทียมจอซ และมีการเพิ่มเติมข้อมูลล่าสุดเข้าไป ส่วนแผนที่ชุดถัดไปนั้นจะเผยแพร่อีกครั้งในช่วงฤดูใบไม้ร่องของปีนี้ ซึ่งแต่ละชุดที่เผยแพร่ออกมานั้นจะได้รับการปรับปรุงคุณภาพของข้อมูลให้ดี ขึ้น

    ดร.รูน ฟลอเบอร์กฮาเกน (Dr.Rune Floberghagen) ผู้จัดการโครงการในภารกิจจอซ ขององค์การอวกาศยุโรป กล่าวว่า ยิ่งมีข้อมูลมากก็ยิ่งลดสัญญาณรบกวนและความผิดพลาดลงได้มาก

    และยิ่งเรามีข้อมูลจีออยด์ที่แม่นยำเท่าไร เราก็สามารถนำไปใช้สร้างงานวิทยาศาสตร์ที่ดีได้มากขึ้น

    หนึ่งในเป้าหมายใหญ่ของดาวเทียมจอซ คือการคิดค้นการอ้างอิงสากลเพื่อเปรียบเทียบความสูงที่จุดใดๆ ก็ตามบนโลก

    ซึ่ง ศ.ไรเนอร์ รัมเมล (Prof.Reiner Rummel) ประธานสมาคมความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์ของดาวเทียมจอซกล่าวว่า

    ปัจจุบันความสูงค่ากลางของระดับน้ำทะเลจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง นั้นยังมีความแตกต่างกันอยู่

    สำหรับปฏิบัติการของดาวเทียมจอซนี้ จะได้รับการสนับสนุนงบประมาณไปจนถึงปี 2012 เหมือนปฏิบัติการสำรวจโลกอื่นๆ ขององค์การอวกาศยุโรป

    จึงจำเป็นต้องหาการสนับสนุนทางการเงินจากประเทศสมาชิกอื่นๆ เพื่อดำเนินการภารกิจนี้ต่อ ซึ่งดาวเทียมดวงนี้ ได้ปฏิบัติภารกิจการสำรวจมาก 14 เดือนแล้ว

    แต่นักวิจัยยังต้องการที่จะเห็นดาวเทียมทำงานต่อไปอีกเท่าที่จะเป็นไปได้

    เนื่องจาก ดาวเทียมโคจรที่ระดับต่ำเพื่อให้สัมผัสได้ถึงสัญญาณแรงโน้ม ถ่วงที่อ่อนมาก จึงจำเป็นต้องมีเครื่องยนต์ที่ขับเคลื่อนให้ดาวเทียมเคลื่อนไปข้างหน้า

    โดยยังอยู่ในวงโคจรของตัวเอง หากไม่มีเครื่องยนต์ดังกล่าวแล้ว ดาวเทียมจะตกพื้นโลกอย่างรวดเร็ว

    แต่จากการประชุมของนักวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง คาดว่าเครื่องยนต์ขับเคลื่อนของดาวเทียมจะทำงานต่อไปได้ถึงปี 2014
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     

แชร์หน้านี้

Loading...