ประกาศข่าวแผ่นดินไหว(&การคาดการณ์)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 28 กันยายน 2006.

  1. มาพบพระ

    มาพบพระ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    643
    ค่าพลัง:
    +1,973
    มาทักทาย แต่อย่าวิ่งมาเยี่ยมหน้าบ้านเลย
     
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,792
    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"><tbody><tr><th align="center">MAG </th> <th align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th align="center">LAT
    deg
    </th> <th align="center">LON
    deg
    </th> <th align="center">DEPTH
    km
    </th> <th> Region</th> </tr> <tr><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">MAP</td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center"> 4.5 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">2011/12/08 00:49:17 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> -6.928 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> 126.828 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right">385.5 </td><td valign="top"> BANDA SEA</td></tr> <tr><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">MAP</td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center"> 3.2 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">2011/12/08 00:08:57 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> 57.272 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> -155.974 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right">107.3 </td><td valign="top"> ALASKA PENINSULA</td></tr> </tbody></table><hr> <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"><tbody><tr> <th> </th> <th align="center">MAG </th> <th align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th align="center">LAT
    deg
    </th> <th align="center">LON
    deg
    </th> <th align="center">DEPTH
    km
    </th> <th> Region</th> </tr> <tr><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">MAP</td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center"> 3.2 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">2011/12/07 23:07:09 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> 51.261 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> -174.988 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> 6.4 </td><td valign="top"> ANDREANOF ISLANDS, ALEUTIAN IS., ALASKA</td></tr> <tr><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">MAP</td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center"> 6.1 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">2011/12/07 22:23:09 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> -27.884 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> -70.932 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> 15.6 </td><td valign="top"> ATACAMA, CHILE</td></tr> <tr><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">MAP</td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center"> 5.0 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">2011/12/07 22:11:43 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> 36.303 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> 141.142 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> 40.2 </td><td valign="top"> NEAR THE EAST COAST OF HONSHU, JAPAN</td></tr> <tr><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">MAP</td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center"> 2.6 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">2011/12/07 21:22:21 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> 62.849 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> -151.661 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right">171.8 </td><td valign="top"> CENTRAL ALASKA</td></tr> <tr><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">MAP</td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center"> 2.7 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">2011/12/07 19:09:19 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> 19.140 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> -66.624 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> 33.2 </td><td valign="top"> PUERTO RICO REGION</td></tr> <tr><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">MAP</td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center"> 3.3 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">2011/12/07 16:30:33 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> 59.480 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> -153.771 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> 51.4 </td><td valign="top"> SOUTHERN ALASKA</td></tr> <tr><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">MAP</td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center"> 4.6 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="center">2011/12/07 16:21:55 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> -28.553 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> -71.221 </td><td nowrap="nowrap" valign="top" align="right"> 24.8 </td><td valign="top"> ATACAMA, CHILE</td></tr></tbody></table>
     
  3. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,792
    <table class="tbis" width="840" align="center" border="0" cellpadding="5" cellspacing="0"><tbody><tr class="tbis1" bgcolor="#336699"><td nowrap="nowrap" width="130">วัน-เวลา *ประเทศไทย</td> <td nowrap="nowrap" width="40" align="center">ขนาด</td> <td nowrap="nowrap" width="50" align="center">Latitude</td> <td nowrap="nowrap" width="50" align="center">Longitude</td> <td nowrap="nowrap" width="50" align="center">Phase</td> <td nowrap="nowrap" width="">บริเวณที่เกิด</td> <td width="20">
    </td> </tr> <tr class="tbis3"> <td valign="top">2554-12-08 08:38:50</td> <td valign="top" align="center">3.3</td> <td valign="top" align="center">20.48</td> <td valign="top" align="center">98.82</td> <td valign="top" align="center">20</td> <td valign="top">ประเทศพม่า </td></tr></tbody></table>
     
  4. TLDC

    TLDC Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    60
    ค่าพลัง:
    +94
    <HEADER class=entry-header>
    เกิดแผ่นดินไหวในจังหวัดเชียงใหม่ 8 ธ.ค. 54

    Posted on <TIME class=entry-date datetime="2011-12-08T12:35:15+00:00" pubdate>08/12/2011</TIME> by mrvop
    <!-- .entry-meta -->Reply
    </HEADER><!-- .entry-header -->[​IMG]
    เมื่อเวลา 10:34 ของวันนี้ (08 ธ.ค. 54) ตามเวลาในประเทศไทย ได้เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.1 ตามารตราวัดริกเตอร์ ที่ตำบลปิงโค้ง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ เบื้องต้น ยังไม่ได้รับรายงานความเสียหาย

    เครดิตจากเว็บภัยพิบัติ.คอม (Paipibat.com) | แจ้งเตือน กู้ภัย ให้ความรู้
     
  5. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,792
    <table class="tbis" width="840" align="center" border="0" cellpadding="5" cellspacing="0"><tbody><tr class="tbis1" bgcolor="#336699"><td nowrap="nowrap" width="130">วัน-เวลา *ประเทศไทย</td> <td nowrap="nowrap" width="40" align="center">ขนาด</td> <td nowrap="nowrap" width="50" align="center">Latitude</td> <td nowrap="nowrap" width="50" align="center">Longitude</td> <td nowrap="nowrap" width="50" align="center">Phase</td> <td nowrap="nowrap" width="">บริเวณที่เกิด</td> <td width="20">
    </td> </tr> <tr class="tbis3"> <td valign="top">2554-12-08 10:34:03</td> <td valign="top" align="center">2.1</td> <td valign="top" align="center">19.57</td> <td valign="top" align="center">99.12</td> <td valign="top" align="center">11</td> <td valign="top">ต.ปิงโค้ง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่</td> <td>
    </td> </tr> <tr class="tbis2"> <td valign="top">2554-12-08 08:38:50</td> <td valign="top" align="center">3.3</td> <td valign="top" align="center">20.48</td> <td valign="top" align="center">98.82</td> <td valign="top" align="center">20</td> <td valign="top">ประเทศพม่า </td></tr></tbody></table>
     
  6. paintkiller

    paintkiller เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    334
    ค่าพลัง:
    +946
  7. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    ข้อมูลแผ่นดินไหวทั่วโลกล่าสุด


    Update time = Fri Dec 9 3:44:42 UTC 2011

    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=1><TBODY><TR><TH> </TH><TH align=middle>MAG </TH><TH align=middle>UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </TH><TH align=middle>LAT
    deg
    </TH><TH align=middle>LON
    deg
    </TH><TH align=middle>DEPTH
    km
    </TH><TH> Region</TH></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle> 4.9 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/12/09 03:23:34 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> 27.192 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> 53.133 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>10.0 </TD><TD vAlign=top> SOUTHERN IRAN</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle> 4.6 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/12/09 03:03:25 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> -7.067 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> 117.074 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>614.0 </TD><TD vAlign=top> BALI SEA</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle> 4.4 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/12/09 01:25:41 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> 62.255 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> -145.693 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>23.4 </TD><TD vAlign=top> CENTRAL ALASKA</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle> 2.5 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/12/09 00:52:07 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> 36.227 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> -118.332 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>7.0 </TD><TD vAlign=top> CENTRAL CALIFORNIA</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <HR><TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=1><TBODY><TR><TH> </TH><TH align=middle>MAG </TH><TH align=middle>UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </TH><TH align=middle>LAT
    deg
    </TH><TH align=middle>LON
    deg
    </TH><TH align=middle>DEPTH
    km
    </TH><TH> Region</TH></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle> 3.1 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/12/08 21:27:21 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> 19.023 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> -68.306 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>82.7 </TD><TD vAlign=top> DOMINICAN REPUBLIC REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle> 2.8 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/12/08 18:14:32 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> 63.557 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> -145.689 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>9.1 </TD><TD vAlign=top> CENTRAL ALASKA</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle> 3.8 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/12/08 17:53:37 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> 58.759 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> -146.433 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>1.0 </TD><TD vAlign=top> GULF OF ALASKA</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle> 3.8 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/12/08 17:16:15 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> 40.455 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> -124.331 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>24.8 </TD><TD vAlign=top> NORTHERN CALIFORNIA</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle> 5.2 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/12/08 16:12:38 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> -58.639 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right> -26.386 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>153.7 </TD><TD vAlign=top> SOUTH SANDWICH ISLANDS REGION</TD></TR></TBODY></TABLE>

    [​IMG]
    [​IMG]
     
  8. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    <TABLE class=tbis border=0 cellSpacing=0 cellPadding=5 width=840 align=center><TBODY><TR class=tbis1 bgColor=#336699><TD width=130 noWrap>วัน-เวลา *ประเทศไทย</TD><TD width=40 noWrap align=middle>ขนาด</TD><TD width=50 noWrap align=middle>Latitude</TD><TD width=50 noWrap align=middle>Longitude</TD><TD width=50 noWrap align=middle>Phase</TD><TD noWrap>บริเวณที่เกิด</TD><TD width=20></TD><!-- <td nowrap="nowrap">ข้อมูลอื่นๆ</td> --></TR><TR class=tbis3><TD vAlign=top>2554-12-08 12:38:22</TD><TD vAlign=top align=middle>1.8</TD><TD vAlign=top align=middle>17.47</TD><TD vAlign=top align=middle>98.23</TD><TD vAlign=top align=middle>8</TD><TD vAlign=top>ต.แม่อุสุ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก</TD></TR></TBODY></TABLE>



     
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,792
    <table style="color: rgb(0, 0, 0); font-family: arial, sans-serif; font-size: 13px; font-style: normal; font-variant: normal; font-weight: normal; letter-spacing: normal; line-height: normal; orphans: 2; text-align: -webkit-auto; text-indent: 0px; text-transform: none; white-space: normal; widows: 2; word-spacing: 0px; -webkit-text-size-adjust: auto; -webkit-text-stroke-width: 0px; background-color: rgb(255, 255, 255); " align="center" bgcolor="#f5f6f4" cellpadding="0" cellspacing="0" width="910"><tbody><tr><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; " align="center"><table cellpadding="0" cellspacing="0" width="910"><tbody><tr><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; " height="77" align="left"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="100%"><tbody><tr><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; " width="150">[​IMG]</td><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; " valign="top">RSOE Emergency and Disaster Information Service


    Budapest, Hungary</td></tr><tr><td colspan="2" style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; " align="center">RSOE EDIS ALERTMAIL
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr><tr><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; " align="center"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="910"><tbody><tr><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; " align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="100%"><tbody><tr><td colspan="2" style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; " valign="top" width="100%">2011-12-09 04:47:02 - Earthquake - USA

    </td></tr><tr><td colspan="2" style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; " width="100%">
    </td></tr><tr><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; " valign="top"><table align="left" border="0" cellpadding="1" cellspacing="1" width="100%"><tbody><tr><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; " width="25%">EDIS Code:</td><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; ">EQ-20111209-33332-USA</td></tr><tr><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; ">Date&Time:</td><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; ">2011-12-09 04:47:02 [UTC]</td></tr><tr><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; ">Continent:</td><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; ">North-America</td></tr><tr><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; ">Country:</td><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; ">USA</td></tr><tr><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; ">State/Prov.:</td><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; ">State of Alaska,</td></tr><tr><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; ">Location:</td><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; ">14 km (9 miles) W (277°) from Gulkana,</td></tr><tr><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; ">City:</td><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; ">
    </td></tr><tr><td colspan="2" style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; ">Not confirmed information!
    </td></tr></tbody></table></td><td style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; " align="right" width="440">[​IMG]</td></tr><tr><td colspan="2" style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; " valign="top">Description:</td></tr><tr><td colspan="2" style="margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0px; margin-left: 0px; font-family: arial, sans-serif; " valign="top">A 4.4-magnitude earthquake was reported just before 4:26 p.m. AKST near the Alaska towns of Gulkana, Glenallen and Gakona on Thursday, and just miles from the massive federal military installation known as HAARP. That's according to the U.S. Geological Survey. The quake's epicenter was about 14 miles from the High-frequency Active Auroral Research Program (HAARP), which has been linked by many a conspiracy theorist to other calamitous events, particularly big temblors. HAARP spokesmen claim scientists out there are learning how to create aurora borealis and lightning. Others hold the program responsible for the March 2011 Japan earthquake as well as the 2010 Haiti earthquake. Thursday's shaker near HAARP was just one of more than 30 earthquakes recorded in and around Alaska, according to the Alaska Earthquake Information Center.
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  10. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,792
    <table class="tbis" align="center" border="0" cellpadding="5" cellspacing="0" width="840"><tbody><tr class="tbis1" bgcolor="#336699"><td nowrap="nowrap" width="130">วัน-เวลา *ประเทศไทย</td> <td nowrap="nowrap" align="center" width="40">ขนาด</td> <td nowrap="nowrap" align="center" width="50">Latitude</td> <td nowrap="nowrap" align="center" width="50">Longitude</td> <td nowrap="nowrap" align="center" width="50">Phase</td> <td nowrap="nowrap" width="">บริเวณที่เกิด</td> <td width="20">
    </td> </tr> <tr class="tbis3"> <td valign="top">2554-12-09 17:01:53</td> <td align="center" valign="top">2.0</td> <td align="center" valign="top">17.14</td> <td align="center" valign="top">98.67</td> <td align="center" valign="top">9</td> <td valign="top">ต.แม่ตื่น อ.แม่ระมาด จ.ตาก</td> <td>
    </td> </tr> <tr class="tbis2"> <td valign="top">2554-12-08 12:38:22</td> <td align="center" valign="top">1.8</td> <td align="center" valign="top">17.47</td> <td align="center" valign="top">98.23</td> <td align="center" valign="top">8</td> <td valign="top">ต.แม่อุสุ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก</td> <td>
    </td> </tr> <tr class="tbis3"> <td valign="top">2554-12-08 10:34:03</td> <td align="center" valign="top">2.1</td> <td align="center" valign="top">19.57</td> <td align="center" valign="top">99.12</td> <td align="center" valign="top">11</td> <td valign="top">ต.ปิงโค้ง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่</td> <td>
    </td> </tr> <tr class="tbis2"> <td valign="top">2554-12-08 08:38:50</td> <td align="center" valign="top">3.3</td> <td align="center" valign="top">20.48</td> <td align="center" valign="top">98.82</td> <td align="center" valign="top">20</td> <td valign="top">ประเทศพม่า </td> <td>
    </td> </tr> <tr class="tbis3"> <td valign="top">2554-12-08 08:29:41</td> <td align="center" valign="top">3.4</td> <td align="center" valign="top">20.46</td> <td align="center" valign="top">100.11</td> <td align="center" valign="top">10</td> <td valign="top">ประเทศพม่า</td> <td>
    </td> </tr> <tr class="tbis2"> <td valign="top">2554-12-08 08:08:02</td> <td align="center" valign="top">2.8</td> <td align="center" valign="top">20.55</td> <td align="center" valign="top">100.23</td> <td align="center" valign="top">12</td> <td valign="top">ประเทศลาว</td></tr></tbody></table>
     
  11. sug552

    sug552 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    563
    ค่าพลัง:
    +250
    ขอบพระคุณมากครับสำหรับข้อมูล ไม่ได้เข้าเวปมา 1 สัปดาห์ ตอบช้านิดนึงครับ

    หลังๆ นี่เริ่มเข้ามาเขย่าในไทยบ่อยจัง ผมได้บอกเตือนน้าที่อยู่ อ.พญาเม็งราย จ.เชียงราย ว่าให้เตรียมตัวไว้เเล้ว เพราะมีบทเรียนเมื่อช่วงกลางปี ที่แผ่นดินเขย่า แถว ๆ แม่สาย ตอนนั้นของ ที่ตั้งไว้ในบ้านเสียหายพอสมควร แล้วพอมาปีนี้ มีคำเตือนมาก + กับมาไหว ๆ ในไทยบ่อย งานนี้มีลุ้น:boo:
     
  12. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    ประวัติศาสตร์แผ่นดินไหวที่โยนกนคร
    www.reurnthai.com/index.php?topic=4310.0;wap2

    นักโบราณคดีชาวบ้านแบบผม ได้กลับไปค้นคว้าประวัติศาสตร์ของเมืองเชียงราย และพบว่า ในแถบนี้สมัยโบราณ กว่า 700 ปีมาแล้ว ได้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่มาแล้วหลายครั้ง

    การบันทึกประวัติศาสตร์ในสมัยก่อน คุณพ่อผม ได้เคยบอกเล่าไว้ว่า การจะสืบค้นประวัติศาสตร์เก่าๆให้ตามดูตำนาน หรือเรื่องเล่า เพราะเป็นหนึ่งในการบันทึกประวัติศาตร์ในรูปแบบเรื่องเล่า เช่น ประวัติเมืองเชียงแสน (ทิศเหนือของ อ.เมืองเชียงราย)

    เวียงหนองหล่ม ตั้งอยู่ที่เขตติดต่อระหว่างตำบลโยนก อำเภอเชียงแสน กับตำบลจันจว้าอำเภอแม่จัน จากหลักฐานที่ได้จากการสำรวจ สันนิษฐานว่า อยู่ระหว่างยุคหินใหม่ ถึงไม่เกินพุทธศตวรรษที่ ๑๙

    ตำนานและพงศาวดารหลายเล่มกล่าวตรงกันว่า เจ้าชายสิงหนวัติ พาผู้คนมาหาที่ตั้งเมือง พอมาถึงแม่น้ำโขง ก็พบนาคจำแลงเป็นชาย มาบอกสถานที่สร้างเมือง จึงตั้งเมืองโยนกนาคพันสิงหนวัติ โดยเอาชื่อองค์ผู้สร้างเมืองรวมกับชื่อนาค หรือโยนกนครหลวง
    มีกษัตริย์ปกครองสืบจนถึงสมัยพระเจ้ามหาไชยชนะ

    ต่อมา ผู้คนจับปลาไหลเผือกได้ที่แม่น้ำกก จึงนำมาแบ่งกันกินทั่วเมือง เว้นแต่หญิงม่ายนางหนึ่ง ไม่มีลูกหลานไม่มีใครให้กิน ตกกลางคืน เกิดแผ่นดินไหว เมืองถล่มลง เหลือแต่บริเวณบ้านของหญิงม่าย จึงเรียกน้ำนั้นว่าเกาะแม่ม่าย และเรียกเมืองนั้นว่าเวียงหนองล่ม หรือเวียงหนอง

    จากโครงการอนุรักษ์เมืองโบราณและประวัติศาสตร์เชียงแสน มีการสำรวจพื้นที่ของเวียงหนองล่มหลายครั้ง

    เกาะดอนแท่น หรือเกาะหลวง เป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่มีความคลุมเครือในเรื่องสถานที่ตั้ง แต่มีปรากฏในตำนานและพงศาวดารหลายเล่ม ต่างกล่าวตรงกันว่า

    เมื่อพระเจ้าแสนภูสร้างเมืองเชียงแสน ทรงประทับอยู่ในวังบนเกาะดอนแท่น ที่บริเวณหน้าเมืองเชียงแสน จนสวรรคต และตั้งพระบรมศพบนเกาะดอนแท่นระยะหนึ่ง

    นอกจากนี้ เกาะดอนแท่นยัง มีความสำคัญในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาด้วย กล่าวคือ สมัยพระเจ้ากือนาครองเมืองเชียงใหม่ ทรงนำพระสีหลปฏิมาทำพิธีอภิเษกพระบนเกาะดอนแท่น แล้วนำไปประดิษฐานไว้ ณ วัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงราย

    ราว พ.ศ. ๑๙๒๖ พระมหาเถรเจ้าศิริวัง นำเอาพระพุทธรูปสององค์ เรียกว่า พระแก้วและพระคำ มาสร้างเป็นวัดพระแก้ว และวัดพระคำบนเกาะดอนแท่น

    สมัยพระเจ้าอติโลกราช ทรงให้ร้อยขุนกับสิบอ้านนิมนต์พระพุทธรูปพระเจ้าทองทิพย์องค์หนึ่งจากจอมทอง เมืองเชียงใหม่ ที่เอามาจากเมืองลังกา มาประดิษฐานไว้ที่เกาะดอนแท่น พร้อมทั้งปลูกต้นโพธิ์ไว้ด้วย เป็นที่เคารพสักการะของชาวเชียงแสน

    ต่อมา เกาะดอนแท่น พังทลายลงในแม่น้ำโขง เมื่อใดไม่มีผู้ใดทราบ เนื่องจาก เมืองเชียงแสนร้างไป ตั้งแต่รัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ถึงรัชกาลที่ ๕ จึงฟื้นฟูขึ้นมาเป็นบ้านเมืองอีกครั้ง

    ส่วนพระแก้วพระคำนั้นมีผู้สันนิษฐานว่า พระแก้วนั้น อาจจะไปอยู่กับผู้อพยพชาวไทยวนเมืองเชียงแสน ไปอยู่ที่เมืองลำปาง สำหรับพระคำ ไม่มีปรากฏว่าไปอยู่ที่ใด

    เคยมีการสำรวจหาที่ตั้งของเกาะดอนแท่นหลายครั้ง แต่ไม่สำเร็จ เนื่องจากกระแสน้ำเชี่ยวกราก น้ำเย็นจัด ประกอบทัศนวิสัยใต้น้ำของแม่น้ำโขง เท่ากับศูนย์ ไม่สามารถมองเห็นใต้น้ำด้วยตาเปล่า

    จนถึงปัจจุบัน ยังไม่มีการสำรวจหาที่ตั้งของเกาะดอนแท่น อย่างเป็นทางการ เนื่องจาก แม่น้ำโขงเป็นเส้นทางแบ่งพรมแดนธรรมชาติระหว่างไทย - ลาว เมื่อมิได้มีการขออนุญาตอย่างเป็นทางการ การสำรวจไม่สามารถกระทำได้ เพราะจะกระทบกระเทือนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

    การเกิดแผ่นดินไหวที่เชียงรายนั้น น่าจะเกิดต่อเนื่องกันมานาน

    และโดยเหตุนี้กระมังครับ ที่กว่า 700 ปีมาแล้ว นักสร้างเมืองอย่าง พ่อขุนเม็งรายมหาราชจึงได้ทำการย้ายเมืองถึง 3 ครั้ง

    กล่าวคือ เชียงราย เวียงกุมกาม และ เชียงใหม่ในที่สุด

    ข่าวจากทีวี ช่อง 9 เมื่อค่ำวันที่ 25 มีนาคม 2554 คุณสมิทธ ธรรมสโรช ประธานอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ พูดถึงเรื่องแผ่นดินไหวในภาคเหนือว่า ในปี พ.ศ. 2003 เกิดแผ่นดินไหวใหญ่ที่เชียงแสน

    และพูดต่อว่า ตรงกว๊านพะเยานั้น เกิดจากแผ่นดินไหว ทำให้ดินยุบตัวลงไปกลายเป็นกว๊านพะเยา

    ประวัติศาสตร์น้ำท่วมเวียงกุมกาม
    www.th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A1

    เวียงกุมกาม เป็นเมืองโบราณ ที่พญามังราย (พ่อขุนเม็งราย) ทรงโปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1829 โดยโปรดให้ขุดคูเวียงทั้ง 4 ด้าน ไขน้ำแม่ปิงให้ขังไว้ ในคูเมืองโบราณสถานที่ปรากฏอยู่ในเวียงกุมกามและใกล้เคียง เป็นเวียง (เมือง) ทดลองที่สร้างขึ้น

    ก่อนที่จะมาเป็นเมืองเชียงใหม่ ตั้งอยู่ที่ ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีระยะห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 5 กิโลเมตร

    หลังจากที่พญามังรายได้ปกครองและพำนักอยู่ในนครหริภุญชัย (ลำพูน) อยู่ 2 ปี พระองค์ทรงศึกษาสิ่งหลายๆอย่าง และมีพระราชดำริที่จะลองสร้างเมืองขึ้น เมืองนั้นก็คือ เวียงกุมกาม

    แต่พระองค์ก็ทรงสร้างไม่สำเร็จ เพราะเวียงนั้นมีน้ำท่วมอยู่ทุกปี จนพญามังรายจึงทรงต้องไปปรึกษาพระสหาย นั่นก็คือ พ่อขุนรามคำแหง แห่ง สุโขทัย และ พญางำเมือง แห่ง พะเยา

    หลังจากทรงปรึกษากันแล้วจึงทรงตัดสินใจไปหาที่สร้างเมืองใหม่ ในที่สุดจึงได้พื้นที่นครพิงค์เชียงใหม่เป็นเมืองใหม่ และ เป็นเมืองหลวงแห่งอาณาจักรล้านนาต่อมา จึงสรุปได้ว่าเวียงกุมกามนั้น เป็นเมืองที่ทดลองสร้าง

    เวียงกุมกามล่มสลายลง เพราะเกิดน้ำท่วมครั้งใหญ่ โดยช่วงเวลานี้อยู่ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2101 - 2317 ซึ่งตรงกับสมัยพม่าปกครองล้านนา พม่าปกครองล้านนาเป็นเวลาสองร้อยกว่าปี

    แต่ไม่ปรากฏหลักฐานที่กล่าวถึงเวียงกุมกามทั้งๆ ที่เหตุการณ์น้ำท่วมครั้งใหญ่นี้เป็นเรื่องร้ายแรงมากและสมควรที่จะบันทึกไว้ แต่ก็ไม่มีการบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์ใดเลย

    ผลของการเกิดน้ำท่วมนี้ ทำให้เวียงกุมกามถูกฝังจมลงอยู่ใต้ตะกอนดิน จนยากที่จะฟื้นฟูกลับมา สภาพวัดต่างๆ และโบราณสถานที่สำคัญเหลือเพียงซากวิหารและเจดีย์ร้างที่จมอยู่ดินในระดับความลึกจากพื้นดินลงไปประมาณ 1.50 -2.00 เมตร
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 ธันวาคม 2011
  13. ทาโร่

    ทาโร่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    177
    ค่าพลัง:
    +126
    แผ่นดินไหว 5.1ริกเตอร์ ทะเลโมลุกกะ อินโดฯ ลึกจากผิวดินแค่10กม.



    [​IMG]

    ที่มา
     
  14. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,792
    <table class="tbis" width="840" align="center" border="0" cellpadding="5" cellspacing="0"><tbody><tr class="tbis1" bgcolor="#336699"><td nowrap="nowrap" width="130">วัน-เวลา *ประเทศไทย</td> <td nowrap="nowrap" width="40" align="center">ขนาด</td> <td nowrap="nowrap" width="50" align="center">Latitude</td> <td nowrap="nowrap" width="50" align="center">Longitude</td> <td nowrap="nowrap" width="50" align="center">Phase</td> <td nowrap="nowrap" width="">บริเวณที่เกิด</td> <td width="20">
    </td> </tr> <tr class="tbis3"> <td valign="top">2554-12-10 08:02:20</td> <td valign="top" align="center">4.5</td> <td valign="top" align="center">24.89</td> <td valign="top" align="center">97.81</td> <td valign="top" align="center">11</td> <td valign="top">ยูนาน, ประเทศจีน</td> <td>
    </td> </tr> <tr class="tbis2"> <td valign="top">2554-12-10 06:11:40</td> <td valign="top" align="center">4.6</td> <td valign="top" align="center">24.97</td> <td valign="top" align="center">96.99</td> <td valign="top" align="center">10</td> <td valign="top">รัฐกะฉิ่น ประเทศพม่า</td> <td>
    </td> </tr> <tr class="tbis3"> <td valign="top">2554-12-09 17:01:53</td> <td valign="top" align="center">2.0</td> <td valign="top" align="center">17.14</td> <td valign="top" align="center">98.67</td> <td valign="top" align="center">9</td> <td valign="top">ต.แม่ตื่น อ.แม่ระมาด จ.ตาก</td> <td>
    </td> </tr> <tr class="tbis2"> <td valign="top">2554-12-08 12:38:22</td> <td valign="top" align="center">1.8</td> <td valign="top" align="center">17.47</td> <td valign="top" align="center">98.23</td> <td valign="top" align="center">8</td> <td valign="top">ต.แม่อุสุ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก</td> <td>
    </td> </tr> <tr class="tbis3"> <td valign="top">2554-12-08 10:34:03</td> <td valign="top" align="center">2.1</td> <td valign="top" align="center">19.57</td> <td valign="top" align="center">99.12</td> <td valign="top" align="center">11</td> <td valign="top">ต.ปิงโค้ง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่</td> <td>
    </td> </tr> <tr class="tbis2"> <td valign="top">2554-12-08 08:38:50</td> <td valign="top" align="center">3.3</td> <td valign="top" align="center">20.48</td> <td valign="top" align="center">98.82</td> <td valign="top" align="center">20</td> <td valign="top">ประเทศพม่า </td> <td>
    </td> </tr> <tr class="tbis3"> <td valign="top">2554-12-08 08:29:41</td> <td valign="top" align="center">3.4</td> <td valign="top" align="center">20.46</td> <td valign="top" align="center">100.11</td> <td valign="top" align="center">10</td> <td valign="top">ประเทศพม่า</td> <td>
    </td> </tr> <tr class="tbis2"> <td valign="top">2554-12-08 08:08:02</td> <td valign="top" align="center">2.8</td> <td valign="top" align="center">20.55</td> <td valign="top" align="center">100.23</td> <td valign="top" align="center">12</td> <td valign="top">ประเทศลาว</td></tr></tbody></table>
     
  15. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    <IFRAME style="POSITION: absolute; WIDTH: 10px; HEIGHT: 10px; TOP: -9999em" tabIndex=0 src="http://platform.twitter.com/widgets/hub.html" frameBorder=0 allowTransparency scrolling=no></IFRAME><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เชียงใหม่ระวัง 12 อำเภอ เสี่ยงแผ่นดินไหว - รอยเลื่อนมีพลัง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=middle align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=middle align=left>1 เมษายน 2554 </TD><TD vAlign=middle align=left><SCRIPT src="https://plus.google.com/_/apps-static/_/js/widget/gcm_ppb,googleapis_client,plusone/rt=j/ver=CqlH1EqgQg8.th./sv=1/am=!74w1rtNiplGIAAr7Ig/d=1/" async="true"></SCRIPT><SCRIPT type=text/javascript src="http://platform.twitter.com/widgets.js"></SCRIPT>

    <SCRIPT type=text/javascript src="https://apis.google.com/js/plusone.js" gapi_processed="true"> {lang: 'th'}</SCRIPT>


    <TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=middle align=center>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>ม.ล.ปนัดดา ดิศกุล ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธานประชุมคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จ.เชียงใหม่ โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม โดยเฉพาะการวางแผนรับเหตุแผ่นดินไหว

    ซึ่งที่ประชุมรายงานว่า นับตั้งแต่ปี 2518 ถึงปัจจุบัน เชียงใหม่ได้รับผลกระทบจากเหตุแผ่นดินไหวเกิน 5 ริกเตอร์ ถึง 2 ครั้ง

    อย่างไรก็ตาม จ.เชียงใหม่ มีรอยเลื่อนที่มีพลังคือ รอยเลื่อนแม่จัน และแม่ทา และยังมีรอยเลื่อนย่อยอีก 2 แห่ง คือรอยเลื่อนแม่วัง และแม่เมย

    โดยมีพื้นที่ที่รอยเลื่อนพาดผ่าน 12 อำเภอ 35 ตำบล 174 หมู่บ้าน ซึ่งเป็นพื้นที่เสี่ยงที่ต้องระวังทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ ให้มีการซ้อมแผน และเตรียมพร้อมรับสถานการณ์

    ทั้งนี้ ทางผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ จึงขอให้สำนักโยธาธิการและผังเมือง ตั้งคณะทำงาน เพื่อพิจารณาเกณฑ์กำหนด ให้มีการก่อสร้างอาคารที่สูงกว่ามาตรฐาน โดยเฉพาะ อาคารที่สูงกว่า 8 ชั้น เนื่องจาก เชียงใหม่เป็นพื้นที่เสี่ยง


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>


    [ame="http://www.youtube.com/watch?v=-ibxVhDug9Q"]เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน เป็นพื้นที่ที่มีรอยเลื่อน - YouTube[/ame]
    <TABLE style="MARGIN: 10px 0px" class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 425><THEAD><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" class=tcat colSpan=2></TD></TR></THEAD><TBODY><TR><TD class=panelsurround align=center></EMBED></TD></TR></TBODY></TABLE>​

    <!-- google_ad_section_end -->
     
  16. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    น้ำพุร้อน ความเคลื่อนไหวใต้พิภพ
    www.kanchanapisek.or.th/kp8/cem/cem106.html


    [​IMG]



    <DD>บริเวณพื้นที่ทางภาคเหนือของไทย หาก สำรวจลึกลงไปใต้พิภพ จะพบว่ามีธารน้ำร้อน กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป และธารน้ำร้อนนี้จะผุด พุ่งขึ้นตามรอยแตกของเปลือกโลกออกมาใน ลักษณะของน้ำพุร้อน <DD> <DD><DD>ซึ่งแสดงให้เห็นธรรมชาติ อันเป็นความจริงว่าใต้ผิวโลกบริเวณนี้ลงไปยัง คงมีความร้อนอยู่ <DD> <DD><DD>น้ำพุร้อน เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่มีอยู่ กระจัดกระจายทั่วไปทั้งภาคเหนือ ภาคใต้ และภาค ตะวันตก กว่า ๖๐ แห่ง <DD> <DD><DD>โดยเฉพาะทางภาคเหนือ ได้พบว่า มีน้ำพุร้อนในเขตจังหวัดเชียงใหม่หลายแห่ง เช่น น้ำพุร้อนอำเภอฝาง น้ำพุร้อนบ้านป่าแป๋อำเภอแม่แตง และน้ำพุร้อน บ้านโป่งฮ่อมอำเภอสันกำแพง <DD> <DD><DD>น้ำพุร้อนที่อำเภอสันกำแพง นับว่าเป็นที่รู้กันดีในหมู่นักท่องเที่ยว ปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตตำบลบ้านสหกรณ์สันกำแพง ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ประมาณ ๓๗ กิโลเมตร บริเวณพื้นที่เป็นที่ราบสูงล้อมรอบด้วยภูเขา <DD> <DD><DD>แต่เดิมบริเวณนี้เป็นทุ่งหญ้าและมีธาร น้ำร้อน และบ่อน้ำร้อนธรรมชาติที่มีน้ำและไอร้อนผุดพลุ่งขึ้นตลอดเวลา <DD> <DD><DD>ลักษณะการเกิดน้ำพุร้อนนั้น ต้นกำเนิดความร้อนเกิดจากหินหลอมเหลวความร้อนสูงส่งความร้อนผ่านหินเนื้อแน่น ขึ้นไปยังธารน้ำใต้ดินที่ไหลผ่าน <DD><DD>ทำให้ธารน้ำนั้นร้อนและมีแรงดันแทรกตัวขึ้นมาตามรอยแตกของชั้นหินจนทะลุขึ้นมาบนผิวดิน กลายเป็นน้ำพุร้อน </DD>

    <DD>
    [​IMG]


    <DD>www.vcharkarn.com/vcafe/99496

    ต้นกำเนิดความร้อน


    - น้ำพุร้อนที่พบบริเวณหินอัคนี น้ำใต้ดินได้รับการถ่ายเทความร้อนจากหินอัคนีที่ร้อนในระดับลึก และไหลย้อนกลับสู่ผิวดิน

    - น้ำพุร้อนที่เกิดอยู่ใกล้ หรือเกิดอยู่ในหินแกรนิต จะได้รับความร้อนจากการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี ซึ่งพบมีค่าค่อนข้างสูงอยู่ในหิน

    - น้ำพุร้อนที่เกิดอยู่บริเวณรอยเลื่อนมีพลัง ได้รับการถ่ายเทความร้อนจากแรงเฉือน และรอยเลื่อนดังกล่าว เป็นช่องทางนำน้ำเย็นไหลลงสู่ระดับลึกแล้วไหลขึ้นสู่ผิวดินเป็นน้ำพุร้อน

    - รอยเลื่อนปกติในทิศทางเหนือ-ใต้ ที่เกิดอยู่ทั่วไปในช่วงเวลาไม่เกิน 1.8 ล้านปี (หลังยุคเทอร์เชียรี) เป็นตัวให้ความร้อนเพิ่มขึ้น

    - บริเวณประเทศไทยมีค่าการไหลถ่ายความร้อนสูง ซึ่งเป็นผลมาจากชั้นเปลือกโลก และชั้นแมนเทิล บางหรืออยู่ตื้นกว่าปกติ
    </DD>
     
  17. ทาโร่

    ทาโร่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    177
    ค่าพลัง:
    +126
    Volcano / Earthquake Watch Dec 10-14, 2011

    Targeting Coronal Hole(CH487) in the Northern Hemisphere. This Coronal hole covers 6-15° N Latitudes. After analysis I have isolated 6-9° (+- 1°) N Latitude with solar symmetry to earth. Best fit regions for a possible 6.5 Magnitude Earthquake are:

    South Of Panama, Costa Rica, Panama, Moro Gulf/ Mindanao Philippines or the Nicobar Islands India Region

    Second watch is targeting a new coronal fissure extending 44-47° S latitude and represents a possible risk for a 5.1-5.5 Magnitude in one of these areas:

    Off The West Coast of the South Islands New Zealand Region, South Islands New Zealand, Aisen Chile or a possible volcanic eruption in the dangerous Cerro Hudson Volcano

    OLR Anomalies this week are:puerto Rico, Dominican Republic, Samoa, Tonga, Queensland Australia, Western Australia, South Indian Ocean, Namibia, France, Germany, Japan
    Ionospheric anomalies this week are:
    Yunnan China, North east India and South West Indonesian regions.

    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=gpL9gtVh8gk]Volcano / Earthquake Watch Dec 10-14, 2011 - YouTube[/ame]
     
  18. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    มีเรื่องน่าสนใจเกี่ยวกับธรณีวิทยา ประเภทรอยเลื่อนแผ่นดินไหว แถวๆ ดอยหลวงเชียงดาว สงสัยว่าจะยังเคลื่อนไหวอยู่เรื่อยๆ

    [​IMG]

    โดยเฉพาะตรงถ้ำเชียงดาว คือเมื่อไม่กี่ปีมานี้ ไปเที่ยวแถวนั้น ชาวบ้านยังเล่าให้ฟังว่า ยังได้ยินเสียงดังลั่นเหมือนเสียงรถไฟบ้าง เหมือนเสียงปืนใหญ่บ้าง มาจากในถ้ำ


    [​IMG]

    www.oknation.net/blog/print.php?id=329113

    "ดอยหลวงนี่ ถ้าตรงกับวันเดือนเป็ง เปิ้นจะลั่นอะมอก ดังสะเทือน ดังสามครั้ง พอรุ่งเช้า หมู่เฮาก็จะพากันไปใส่บาตรทำบุญ มันเป็นอย่างนี้ มันศักดิ์สิทธิ์อย่างนี้"


    แม่อุ้ยหมี อินต๊ะวัง คนเฒ่าแห่งบ้านหัวทุ่ง ที่เคารพศรัทธาดอยหลวงเชียงดาว บอกเล่าให้ฟังว่า


    ในคืนเดือนเต็มดวง ของเดือน 9 ทุกปี ชาวบ้านที่อาศัยอยู่รอบๆ ดอยหลวงเชียงดาว จะได้ยินเสียงคล้ายเสียงปืนใหญ่ดั่งลั่นดอยสามครั้งสามหน นั่นเป็นเสียงสะท้อน ถึงความยิ่งใหญ่ของเจ้าหลวงคำแดง กับดอยหลวงเชียงดาว


    www.dmr.go.th/geohazard/earthquake/DMRActiveFault.htm


    จากการตรวจสอบพบว่า ประเทศไทยมีรอยเลื่อนมีพลังจำนวน 45 รอยเลื่อน (อยู่ทางภาคเหนือกว่า 90 เปอร์เซ็นต์) ได้แก่


    รอยเลื่อนเชียงแสน

    แม่จัน

    แม่อิง

    มูลาว

    หนองเขียว

    เชียงดาว

    เมืองแหง

    แม่ฮ่องสอน

    ขุนยวม

    แม่ลาหลวง

    แม่สะเรียง

    พร้าว

    ปัว

    ดอยหมอก

    วังเหนือ

    แม่งัด

    แม่ปิง

    ดอยปุย

    แม่ทา

    อมก๋อย

    เมืองปาน

    แม่หยวก

    แม่ทะ

    เถิน

    แม่วัง

    ท่าสี

    งาว

    แม่ติป

    สามเงา

    ผาแดง

    ดอยหลวง

    แม่ยม

    แม่กลอง

    แพร่

    อุทัยธานี

    อุตรดิตถ์

    น้ำปาด

    เขาดำ

    ท่าอุเทน

    ศรีสวัสดิ์

    เจดีย์สามองค์

    เขาราวเทียน

    ระนอง

    อ่าวลึก

    คลองมะรุ่ย
     
  19. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    [​IMG]

    นาซ่า พบวิธีเตือนแผ่นดินไหว ล่วงหน้า 3 วัน

    เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 54 เว็บไซต์เดลิเมล ของอังกฤษ รายงานว่า องค์การนาซ่า (NASA) ตรวจพบปริมาณอิเล็กตรอน ในชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ ในระดับสูงผิดปกติ บริเวณศูนย์กลางแผ่นดินไหว ช่วง 3 วัน ก่อนเกิดภัยพิบัติสึนามิที่ญี่ปุ่น

    เชื่อว่า เป็นปฏิกิริยาของพื้นผิวโลก ซึ่งสามารถใช้ผลตรวจวัดดังกล่าวเป็นสัญญาณเตือนภัยแผ่นดินไหวครั้งต่อไปได้ ดีเลยทีเดียว

    รายงานระบุว่า นักวิทยาศาสตร์จากองค์การนาซ่าในรัฐแมรี่แลนด์ ของสหรัฐฯ ได้นำรายงานบันทึกข้อมูล เกี่ยวกับชั้นบรรยากาศบริเวณศูนย์กลางแผ่นดินไหว ช่วงเกิดภัยพิบัติสึนามิในญี่ปุ่น มาวิเคราะห์ และพบว่า

    ก่อนหน้าที่จะเกิดภัยพิบัติสึนามิ 3 วัน คือในวันที่ 8 - 10 มีนาคม นั้น ปริมาณอิเล็กตรอน ในชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ ได้มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น อย่างน่าตกใจ

    ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า ก่อนเกิดเหตุแผ่นดินไหว แรงดันภายในเปลือกโลกจะทำให้เกิดการปล่อย ก๊าซเรดอน ออกมาในปริมาณที่สูงมาก ทำให้เกิดความร้อนในช่วงเวลาดังกล่าว

    ซึ่งความร้อนที่ถูกปล่อยออกมานี้ จะกลายเป็นความร้อนส่วนเกิน ที่จะถูกบันทึกเป็นรังสีอินฟาเรด ที่แสดงให้เห็นผ่านภาพจากดาวเทียมของนาซ่า


    [​IMG]


    ทั้งนี้ ภาพถ่ายจากดาวเทียมดังกล่าว ถือว่าเป็นประโยชน์สำหรับนักวิทยาศาสตร์เป็นอย่างมาก เพราะมันสามารถทำให้นักวิทยาศาสตร์ ได้รู้ถึงเหตุการณ์ภัยพิบัติ หรือความผิดปกติทางธรณี ที่อาจจะเกิดขึ้นล่วงหน้าได้

    และหลังจากนี้ นักวิทยาศาสตร์ ก็จะนำการตรวจปริมาณความร้อน ในพื้นที่ทั่วโลก ไปใช้ในการประกาศเตือนภัย ในพื้นที่ซึ่งกำลังจะประสบเหตุต่อไป

    ข้อมูลของชั้น บรรยากาศไอโอโนสเฟียร์

    ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ห่างจากผิวโลกมากที่สุด รวมถึง เกี่ยวข้องกับการแพร่กระจายคลื่นในย่านความถี่ HF มากที่สุดอีกด้วย

    สิ่งน่าสนใจเกี่ยวกับบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ คือ ความสามารถหักคลื่นวิทยุให้สะท้อนกลับมาที่โลก เป็นการเพิ่มระยะทางส่งได้มากขึ้น

    นิยมใช้งานกันในย่านความถี่ HF ลงไป ถ้าสูงกว่านี้อย่างย่าน VHF ไม่สามารถส่งโดยวิธีนี้ได้เพราะจะทะลุชั้นไอโอโนสเฟียร์ออกไป

    การแพร่กระจายของรังสีอุลตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ เข้าหาชั้นบรรยากาศของโลก ทำให้เกิดการถ่ายเทพลังงาน เข้าสู่โมเลกุลของชั้นบรรยากาศ ไอโอโนเฟียร์ ให้เกิดการไอออนไนซ์ ของโมเลกุลขึ้น

    ข้อมูลของก๊าซเรดอน

    ก๊าซเรดอน เป็นกาซไม่มีสี ไม่มีกลิน ไม่มีรส และมองไม่เห็น เกิดจากการสลายตัวของยูเรเนียม-238

    อะตอมของเรดอน เป็นอะตอมของก๊าซเฉื่อย มีครึ่งชีวิตสัน แหล่งกำเนิดของเรดอน แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ

    ก๊าซในดิน สามารถแพร่ผ่านช่องว่างเล็ก ระหว่างดินเข้าสูที่พักอาศัย น้ำใต้ดิน

    เรดอนที่เจือปนในน้ำ จะออกมาจากน้ำ และเข้าสู่อากาศภายในอาคาร และวัสดุกอสร้าง ที่อาจทํามา จากสารกัมมันตรังสี

    ประเทศไทยพบก๊าซเรดอน มากในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในฤดูหนาว

    เนื่องจาก มีลมพัดจากแผ่นดินใหญ่จีน เข้าสูประเทศไทยทางทิศเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งจะนําก๊าซเรดอนเข้ามาด้วย โดยมีค่าเฉลี่ย 186 pCi / L

    ส่วนในฤดูร้อนและฤดูฝน มีลมพัดมาจากทิศใต้ ผ่านทะเลเป็นสวนใหญ่ ผ่านแผ่นดินน้อย จากการวัดพบว่า มีความเข้มข้นกาซเรดอน น้อยกว่าในฤดูหนาว

    ก๊าซเรดอน เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งปอด เป็นอันดับสอง รองจากบุหรี่

    อนุภาคกัมมันตรังสี ที่เกิดจากเรดอน เมื่อเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ จะเกิดการสลายตัวต่อไป ให้รังสีแอลฟา ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเนื้อเยื่อปอด เป็นสาเหตุที่ทําให้เกิดโรคมะเร็งได้

    www.moosuper.com/blog392-(NASA)%20%E0%B8%9E%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A7%20%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%203%20%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99.html
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 ธันวาคม 2011
  20. ทาโร่

    ทาโร่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    177
    ค่าพลัง:
    +126

แชร์หน้านี้

Loading...