***วัตถุมงคลหลวงพ่อไพบูลย์ วัดอนาลโย ดอยมังกร-ครูบาวงค์ และเกจิอาจารย์ทั่วไทย

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย siwa1968, 24 สิงหาคม 2010.

  1. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เหรียญห้าครูบารุ่นพิเศษปี 2530 บูชา 350บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  2. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เหรียญสามครูบาเนื้อทองแดงบูชา 350 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เหรียญหลวงปู่ปี 2536 บูชา 350 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2010
  4. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เหรียญบาตรน้ำทิพย์ปี 2536 บูชา 350บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2010
  5. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    ปิดล๊อคเก็ตหลวงปู่หลังพระธาตุ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 กันยายน 2010
  6. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    ปิดรายการนี้ครับหลวงปู่หลังมีเกษา
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 กันยายน 2010
  7. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เหรียญรุ่นสร้างวิหารวัดนาเลี่ยงหลังครูบาพรรณบูชา 350 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2010
  8. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    ทรายเสก+สายสิณท์+จีวรบูชา
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 กันยายน 2010
  9. อดุลย์ เมธีกุล

    อดุลย์ เมธีกุล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กันยายน 2007
    โพสต์:
    7,363
    ค่าพลัง:
    +11,795
    จองครับโอนแล้วจะแจ้งให้ทราบ
     
  10. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เลขบัญชี ออมทัพย์ 209-2-51303-6 ธนาคารกสิกรไทยสาขาพะเยา ชื่อบัญชี ปริศนา บัวเทศ
    ขอบคุณครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 กันยายน 2010
  11. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    ล๊อคเก็ตหลวงปู่หลังยันต์บูชา 350 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • GEDC0724.jpg
      GEDC0724.jpg
      ขนาดไฟล์:
      164.8 KB
      เปิดดู:
      37
    • GEDC0725.jpg
      GEDC0725.jpg
      ขนาดไฟล์:
      159.9 KB
      เปิดดู:
      31
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2010
  12. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    พระสมเด็จเชียงแสนรุ่นบรรจุพระบรมธาตุมี2องค์บูชาองค์ละ150บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 สิงหาคม 2010
  13. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    วัตถุมงคลหลวงพ่อไพบูลย์ สุมังคโล
    ***************************************
    วัดอนาลโยทิพยาราม ดอยบุษราคัม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF1521_resize.JPG
      DSCF1521_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      238.6 KB
      เปิดดู:
      44
    • DSCF1522_resize.JPG
      DSCF1522_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      214.3 KB
      เปิดดู:
      36
    • DSCF1523_resize.JPG
      DSCF1523_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      194.3 KB
      เปิดดู:
      35
    • DSCF1526_resize.JPG
      DSCF1526_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      240.2 KB
      เปิดดู:
      33
    • DSCF1527_resize.JPG
      DSCF1527_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      202.3 KB
      เปิดดู:
      34
    • DSCF1528_resize.JPG
      DSCF1528_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      194.2 KB
      เปิดดู:
      31
    • DSCF1531_resize.JPG
      DSCF1531_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      211.8 KB
      เปิดดู:
      40
    • DSCF1532_resize.JPG
      DSCF1532_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      200.7 KB
      เปิดดู:
      40
    • DSCF1534_resize.JPG
      DSCF1534_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      217.7 KB
      เปิดดู:
      33
    • DSCF1535_resize.JPG
      DSCF1535_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      209.2 KB
      เปิดดู:
      36
    • DSCF1545_resize.JPG
      DSCF1545_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      159.9 KB
      เปิดดู:
      33
    • DSCF1546_resize.JPG
      DSCF1546_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      176.6 KB
      เปิดดู:
      35
    • DSCF1547_resize.JPG
      DSCF1547_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      172.5 KB
      เปิดดู:
      34
    • DSCF1564_resize.JPG
      DSCF1564_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      158.6 KB
      เปิดดู:
      33
    • DSCF1565_resize.JPG
      DSCF1565_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      134.7 KB
      เปิดดู:
      38
    • DSCF1566_resize.JPG
      DSCF1566_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      124.4 KB
      เปิดดู:
      37
    • DSCF1567_resize.JPG
      DSCF1567_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      168.6 KB
      เปิดดู:
      34
    • DSCF1568_resize.JPG
      DSCF1568_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      163.5 KB
      เปิดดู:
      37
    • DSCF1563_resize.JPG
      DSCF1563_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      134.6 KB
      เปิดดู:
      37
    • DSCF9001.jpg
      DSCF9001.jpg
      ขนาดไฟล์:
      125.8 KB
      เปิดดู:
      37
    • DSCF9002.jpg
      DSCF9002.jpg
      ขนาดไฟล์:
      126.7 KB
      เปิดดู:
      32
    • 141111.jpg
      141111.jpg
      ขนาดไฟล์:
      147.9 KB
      เปิดดู:
      35
    • 2222.jpg
      2222.jpg
      ขนาดไฟล์:
      148.2 KB
      เปิดดู:
      39
    • DSCF9003.jpg
      DSCF9003.jpg
      ขนาดไฟล์:
      132 KB
      เปิดดู:
      30
    • DSCF9004.jpg
      DSCF9004.jpg
      ขนาดไฟล์:
      141.1 KB
      เปิดดู:
      30
    • DSCF9005.jpg
      DSCF9005.jpg
      ขนาดไฟล์:
      116.8 KB
      เปิดดู:
      35
    • DSCF9006.jpg
      DSCF9006.jpg
      ขนาดไฟล์:
      124.8 KB
      เปิดดู:
      40
    • DSCF9009.jpg
      DSCF9009.jpg
      ขนาดไฟล์:
      615.2 KB
      เปิดดู:
      33
    • DSCF9010.jpg
      DSCF9010.jpg
      ขนาดไฟล์:
      171.4 KB
      เปิดดู:
      36
    • DSCF9011.jpg
      DSCF9011.jpg
      ขนาดไฟล์:
      162.2 KB
      เปิดดู:
      41
    • DSCF9012.jpg
      DSCF9012.jpg
      ขนาดไฟล์:
      161.6 KB
      เปิดดู:
      35
    • DSCF9014.jpg
      DSCF9014.jpg
      ขนาดไฟล์:
      156.7 KB
      เปิดดู:
      34
    • DSCF9016.jpg
      DSCF9016.jpg
      ขนาดไฟล์:
      173.2 KB
      เปิดดู:
      38
    • DSCF9025.jpg
      DSCF9025.jpg
      ขนาดไฟล์:
      171 KB
      เปิดดู:
      36
    • DSCF9026.jpg
      DSCF9026.jpg
      ขนาดไฟล์:
      163 KB
      เปิดดู:
      42
    • DSCF9027.jpg
      DSCF9027.jpg
      ขนาดไฟล์:
      205.1 KB
      เปิดดู:
      30
    • DSCF9028.jpg
      DSCF9028.jpg
      ขนาดไฟล์:
      205 KB
      เปิดดู:
      35
    • DSCF9029.jpg
      DSCF9029.jpg
      ขนาดไฟล์:
      189.3 KB
      เปิดดู:
      32
    • DSCF9030.jpg
      DSCF9030.jpg
      ขนาดไฟล์:
      157.4 KB
      เปิดดู:
      33
    • DSCF9031.jpg
      DSCF9031.jpg
      ขนาดไฟล์:
      188.9 KB
      เปิดดู:
      34
    • DSCF9032.jpg
      DSCF9032.jpg
      ขนาดไฟล์:
      206.9 KB
      เปิดดู:
      35
    • DSCF9033.jpg
      DSCF9033.jpg
      ขนาดไฟล์:
      187.8 KB
      เปิดดู:
      38
    • DSCF9034.jpg
      DSCF9034.jpg
      ขนาดไฟล์:
      161.7 KB
      เปิดดู:
      35
    • DSCF9037.jpg
      DSCF9037.jpg
      ขนาดไฟล์:
      213.3 KB
      เปิดดู:
      39
    • DSCF9038.jpg
      DSCF9038.jpg
      ขนาดไฟล์:
      175.4 KB
      เปิดดู:
      35
    • DSCF1581.jpg
      DSCF1581.jpg
      ขนาดไฟล์:
      693.2 KB
      เปิดดู:
      42
    • DSCF1584.jpg
      DSCF1584.jpg
      ขนาดไฟล์:
      719.1 KB
      เปิดดู:
      36
    • DSCF1585.jpg
      DSCF1585.jpg
      ขนาดไฟล์:
      709.4 KB
      เปิดดู:
      32
    • IMG_0001.jpg
      IMG_0001.jpg
      ขนาดไฟล์:
      3.9 MB
      เปิดดู:
      48
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2010
  14. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    พระผงเจ้าสัวครบ5รอบหลวงพ่อไพบูลย์ บูชา 750 บาท
    ******************************************
    เหรียญรำลึกคุณท้าววิรุฬหกหลวงพ่อไพบูลย์ปี2551 บูชา 350 บาท
    **********************************************************************
    พระเจ้าทันใจวัดอนาลโยทิพยาราม รุ่น 1 บูชา 650 บาท
    ***********************************************************
    เจ้าแม่กวนอิมรุ่นแรกปี 35 บูชา 150บาท
    *******************************************
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 กันยายน 2010
  15. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    หลวงปู่หลวง วัดคีรีสุบรรพต ลำปาง อาจารย์ของหลวงพ่อไพบูลย์ ให้บูชาทุกองค์ราคาเดียวองค์ละ 350 บาท

    เฉพาะพระปิดตาหลวงปู่หลวง มี 2 องค์ องค์ละ 450 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • GEDC0734.jpg
      GEDC0734.jpg
      ขนาดไฟล์:
      169.6 KB
      เปิดดู:
      30
    • GEDC0735.jpg
      GEDC0735.jpg
      ขนาดไฟล์:
      179 KB
      เปิดดู:
      31
    • GEDC0728.jpg
      GEDC0728.jpg
      ขนาดไฟล์:
      187.5 KB
      เปิดดู:
      30
    • GEDC0729.jpg
      GEDC0729.jpg
      ขนาดไฟล์:
      170.7 KB
      เปิดดู:
      35
    • DSCF1549_resize.JPG
      DSCF1549_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      156.4 KB
      เปิดดู:
      30
    • DSCF1550_resize.JPG
      DSCF1550_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      184.3 KB
      เปิดดู:
      27
    • DSCF1551_resize.JPG
      DSCF1551_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      152.2 KB
      เปิดดู:
      28
    • 111.jpg
      111.jpg
      ขนาดไฟล์:
      188.7 KB
      เปิดดู:
      40
    • 111 (1).jpg
      111 (1).jpg
      ขนาดไฟล์:
      181 KB
      เปิดดู:
      34
    • GEDC0691.jpg
      GEDC0691.jpg
      ขนาดไฟล์:
      182.2 KB
      เปิดดู:
      33
    • GEDC0692.jpg
      GEDC0692.jpg
      ขนาดไฟล์:
      194.3 KB
      เปิดดู:
      30
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2010
  16. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เหรียญพระอาจารย์ประสิทธิ์ วัดป่าหมู่ใหม่ รุ่น1
    *************************************************************************
    แปลก !!! แพทย์และหมอฮือฮา....เพราะเอกซเรย์พระคุณเจ้ารูปหนึ่งปรากฎว่ากระดูกแขนเป็นแก้วสีใสหมดทั้งตัว พอ สอบถามที่มาที่ไปปรากฎว่าเป็นหลวงพ่อประสิทธิ์ ปุญมากโร แห่งวัดป่าหมู่ใหม่(อ.แม่แตงจ.เชียงใหม่) ท่านก็เป็นพระป่ากรรมฐานศิษย์สายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต คุณหมอทั้งหลายที่ใน ร.พสวนดอก(เชียงใหม่) ต่างยกย่องกล่าวขานถึงหลวงพ่อว่าน่าอัศจรรย์แท้ เพราะเขาถ่าย x-ray ท่านออกมาปรากฎว่ากระดูกข้างในเป็นแก้วทั้งหมด หมอๆ ทั้งหลายในโรงพยาบาลสวนดอก เลยเคารพท่านมาก
    ท่านพระอาจารย์ประสิทธิ์องค์นี้หลวงตามหาบัวก็ยืนยันในความดีและคุณธรรมของท่านครับ
    <!--แนบไฟล์:
    <div class="attachcontent">-->พระอาจารย์ประสิทธิ์ ปุญฺญมากโร นับเป็นเนื้อนาบุญ ในสายพระป่า ที่ได้รับความเคารพศรัทธาจากพุทธสุปฏิปันโน ท่านพระอาจารย์ประสิทธิ์ ปุญฺญมากโร เป็นคนจังหวัดอุดรธานี ที่หมู่ หนองบัวบาน ต.หมากหญ้า อ.หนองวัวซอ ซึ่งบ้านใกล้กับวัดนิโครธารามสมัยนั้นมี หลวงปู่ อ่อน ญาณสิริ เป็นเจ้าอาวาส และตัวท่านได้เข้าวัดตั้งแต่ เด็ก เมื่ออายุครบ 18 ปี ก็บวชเป็น สามเณร และบวชเป็นพระเมื่ออายุครบ 20 ปีคอยปฎิบัติรับใช้ หลวงปู่อ่อน ญาณสิริอยู่ตลอดเรื่อยมา
    <!--แนบไฟล์:
    <div class="attachcontent">-->เมื่อหลวงปู่อ่อน ญาณสิริ ได้มรณภาพลง ท่านก็ได้ไปปฎิบัติ และอยู่กับ หลวงปู่ชอบ ฐานสโม ที่วัดป่าสัมมานุสรณ์ บ้านโคกมน ต.ผาน้อย อ.วังสะพุง จ.เลย
    ท่าน มัก จะชอบไปธุดงค์ตามที่ต่างๆ ตามป่า เขา ลำห้วย ทั้งภาคอิสาน และภาค เหนือ และจังหวัดต่างๆทั่วไทย ซึ่งก็ได้เดินธุดงค์มาจังหวัด เชียงใหม่ และจังหวัดต่างๆ ตั้งแต่สมัยหลวงปู่ชอบ ยังมีชีวิตอยู่ มาตลอด
    เรามาทำความรู้จักกับวัดป่าหมู่ใหม่ที่ท่านจำพรรษาอยู่กันดีกว่าครับ
    <!--แนบไฟล์:
    <div class="attachcontent">-->วัดป่าหมู่ใหม่เป็นวัดป่า สายธรรมยุติ เป็นวัดที่่สงบเงียบ ตั้งอยู่ท่ามกลางป่า ในเมือง และเป็นเนินเขาเตี้ยๆ
    ท่านพระอาจารย์ประสิทธิ์ ได้อนุรักษ์สภาพพื้นที่ และปลูกป่า่และต้นไม้มาตลอด จน ต้นไม้เติบใหญ่ จนปัจจุบัน วัดมีสภาพสมบูรณ์ร่มรื่น เหมาะสมในการปฏิบัติ ภาวนาเป็นอย่างยิ่ง
    ตั้งอยู่ด้านหลัง สำนักงานชลประทานแม่แตง ที่บ้านหมู่ใหม่
    ห่างจากสำนักงานไป ประมาณ 1.5 กม.
    ภายในวัด พระ-เณร ญาติธรรม ทั้งหลายได้อาศัยแสงไปฉาย, เทียนไข, ตะเกียง ในช่วงยามค่ำคืน เป็นสิ่งที่หาดูได้ยากในวัดปัจจุบัน ทั้งๆที่วัดเองก็มีไฟฟ้าเข้ามาถึงด้านหน้าแล้ว ก็เพียงได้ ใช้อาศัยเปิดเป็นบางจุดสำหรับศาลาด้านหน้า ต่กุฎิต่างๆภายในวัด ไม่ใช้ไฟฟ้า เพราะท่านอาจารย์ ประสิทธิ์ ท่านไม่ต้องการให้มี ไฟฟ้า ใน กุฎิ เพื่อที่พระ-เณร และญาติโยมสามารถปฎิบัติภาวนาได้ โดยไม่มีสิ่งอื่นมาล่อใจ หรือไขว้เขวได้
    <!--แนบไฟล์:
    <div class="attachcontent">-->น้ำใช้สอยก็ไม่ขาดแคลนอาศัยน้ำจากชลประทานแม่แตง แต่ภายในวัดก็ยังมี บ่อน้ำ สำหรับผู้ที่ ประสงค์จะใช้สอยได้ ซึ่งน้ำบ่อเก็เย็นและ็ใส สะอาด สามารถใช้อาบ,สรงน้ำ หรือซักจีวรหรือ เสื้อ ผ้าได้เป็นอย่างดี ซึ่งดูคล้ายวิถีการใช้ชีวิตของคนสมัยโบราณ ซึ่งหาดูได้ยากเต็มทีในปัจจุบัน
    น้ำดื่มก็ได้อาศัยน้ำฝน โดยเก็บในแท็งค์ปูนหรือภาชนะเก็บน้ำฝนตามจุดต่างๆภายในวัด
    ประวัติและปฏิปทา
    หลวงพ่อประสิทธิ์ ปุญฺญมากโร

    วัดป่าหมู่ใหม่
    ต.แม่แตง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่


    ถิ่นกำเนิด-ชาติสกุล

    หลวงพ่อประสิทธิ์ ปุญฺญมากโร เกิดที่บ้านหนองบัวบาน ตำบลหนองบัวบาน อำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๕ มีนาคม พ.ศ.๒๔๘๔ บิดาชื่อ พ่อสนธิ์ มารดาชื่อแม่มุก นามสกุล สิมมะลี มีพี่น้องร่วมบิดามารดา ๗ คน เป็นชาย และหญิง ๔ คน ดังนี้

    ๑. นางสาวเสรี สิมมะลี ถึงแก่กรรมเมื่ออายุ ๒๕ ปี
    ๒. หลวงพ่อประสิทธิ์ ปญฺญมากโร อายุ ๖๖ ปี ( พ.ศ.๒๕๔๙)
    ๓. นายยสมคิด สิมมะลี ถึงแก่กรรมเมื่ออายุ ๓๖ ปี
    ๔. นายสวัสดิ์ สิมมะลี มีชีวิตอยู่ อายุ ๖๒ ปี
    ๕. เด็กหญิงเสาร์ศักดิ์มน สิมมะลี ถึงแก่กรรมเมื่ออายุ ๗ ปี
    ๖. นางทองใส คุนุ มีชีวิตอยู่ อายุ ๕๔ ปี
    ๗. นางสาวหนูพวน สิมมะลี ถึงแก่กรรมเมื่ออายุ ๒๘ ปี

    ชีวิตในวัยเด็ก

    หลวงพ่อประสิทธิ์ เท่ากับเป็นลูกชายคนโตของครอบครัว เมื่อมีอายุ ๗ ปี ได้เข้าเรียนหนังสือที่โรงเรียนประชาบาล บ้านหนองบัวบาน ตำบลหนองบัวบาน อำเภอหนองวัวซอ สอบไล่ได้ตำแหน่งที่ ๑ หรือ ที่ ๒ เป็นประจำทุกปี ตลอดจนจบชั้นประถมปีที่ ๔ พอจบชั้นประถมแล้ว ครูใหญ่ชื่อ “ปรีชา” ให้ไปเรียนต่อที่โรงเรียนมัธยมพิทยานุกุล ในตัวจังหวัดอุดรธานี หลวงพ่อได้ถามบิดาว่า “ จะเรียนดีหรือไม่เรียนดี” และเมื่อบิดาบอกว่ “ทำไร่ทำนาดีกว่า สบายใจดี” หลวงพ่อฯ จึงตัดสินใจช่วยบิดามารดาทำไร่ทำนา
    หลวงพ่อประสิทธิ์ เมื่อเยาว์วัย จึงเป็นแรงสำคัญช่วยงานบิดา มารดา อย่างเต็มความสามารถ ตั้งแต่ยังเรียนหนังสือชั้นประถม จนเช้าสู่วัยหนุ่มอายุ ๑๙ ปี จึงเกิดความคิดอยากเข้าวัด เนื่องจากวัดป่า
    นิโครธาราม ของหลวงปู่อ่อน ญาณสิริ อยู่ใกล้บ้าน ท่านได้ทบทวนชีวิตฆราวาส ผ่านมาได้ช่วยบิดามารดามา จนเป็นที่พอใจแล้ว ฐานะทางครอบครัวก็พอดีๆ ไม่รวยและไม่จน และพี่น้องต่างก็โต พอจะช่วยงานของครอบครัว พ่อแม่ได้แล้ว
    หลวงพ่อท่านคิดว่า ได้เกิดมาใช้หนี้บุญคุณพ่อแม่พอที่ได้อาศัย ท่านมาเกิดในชาตินี้แล้ว จึงคิดมองหา เส้นทางจิต ที่คิด ไม่อยากกลับมาเกิดเป็นหนี้ภพชาติอีกต่อไป โดยเกิดศรัทธาปัญญาในทางพระพุทธศาสนา คิดจะบวชไม่มีกำหนดตลอดชีวิต หวังอยู่ปฏิบัติ ตนเพื่อหลุดพ้น ความเกิดจนถึงอมตะพระนิพพาน

    บรรพชาและอุปสมบท

    ต่อมาครอบครัว ได้พาหลวงพ่อเข้าไปฝากตัวกับหลวงปู่อ่อน ญาณสิริ เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๐๓ เวลา ๑๙.๐๐ น. และได้บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๐๓ ณ วัดโพธสมภรณ์ จังหวัดอุดรธานี โดยมีพระธรรมเจดีย์ (จูม พันธุโล ) เป็นพระอุปัชฌาย์

    ครั้นเมื่ออายุครบ ๒๐ ปี พ.ศ.๒๕๐๔ จึงได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ วัดโพธิสมภรณ์ ในวันที่ ๑ มิถุนายน โดยมีพระธรรมเจดีย์ (จูม พันธุโล) เป็นพระอุปัชฌาย์ หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระครูอุดรคณานุศาสน์ เป็นพระ อนุสาวนาจารย์
    ปัจจุบัน วัตถุมงคลของท่านเริ่มหายากแล้วครับองค์นี้รุ่น1ลงยาให้บูชา2500 บาท

    ธนาคารกสิกรไทย สาขาพะเยา ชื่อบ/ช ปริศนา บัวเทศ เลขที่ 209-2-51303-6


    <!--แนบไฟล์:
    <div class="attachcontent">-->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 ตุลาคม 2010
  17. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    หลวงตามหาบัวหลังมีตะกรุด บูชา 350 บาท
    *****************************
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • GEDC0619.jpg
      GEDC0619.jpg
      ขนาดไฟล์:
      167.9 KB
      เปิดดู:
      32
    • GEDC0618.jpg
      GEDC0618.jpg
      ขนาดไฟล์:
      169.3 KB
      เปิดดู:
      35
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2010
  18. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    หลวงพ่อเนื่องวัดจุฬามณี 2 เหรียญ บูชา 550 บาท
    *******************************************************
    ประวัติ หลวงพ่อเนื่อง โกวิโท (พระครูโกวิทสมุทรคุณ) วัดจุฬามณี
    ตามประวัติโดยสังเขป หลวงพ่อเนื่อง ชื่อเดิม เนื่อง เถาสุวรรณ เกิดเมื่อวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๔๕๒ ปีระกา เป็นบุตร นายถมยา - นางตาบ เกิดที่บ้านคลองใหญ่ หมู่ที่ ๔ ต.แพรกหนามแดง อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม จบการศึกษาชั้นประถม ๔ จากโรงเรียนวัดบางกะพ้อม เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๓
    อุปสมบท เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๔๗๕ ณ อุโบสถวัดบางกะพ้อม ต.อัมพวา อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม โดยมี หลวงพ่อคง ธมฺมโชโต เจ้าอาวาสวัดบางกะพ้อม เป็นพระอุปัชฌาย์ หลวงพ่อแช่ม โสฬส เจ้าอาวาสวัดจุฬามณี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์ปล้อง วัดบางกะพ้อม เป็นอนุสาวนาจารย์
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD>ประวัติ หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี หลวงพ่อเนื่อง โกวิโท (พระครูโกวิทสมุทรคุณ) วัดจุฬามณี ต.บางช้าง อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม เป็นพระเกจิอาจารย์ที่โด่งดังมาก เมื่อกว่า ๒๐ ปีก่อน ท่านเป็นศิษย์เอกของ หลวงพ่อคง วัดบางกะพ้อม หลวงพ่อแช่ม วัดจุฬามณี หลวงปู่ใจ วัดเสด็จ ฯลฯ วิชาความรู้ทางคาถาอาคมจึงย่อมไม่ธรรมดา
    ประวัติ หลวงพ่อเนื่อง โกวิโท (พระครูโกวิทสมุทรคุณ) วัดจุฬามณี
    ตามประวัติโดยสังเขป หลวงพ่อเนื่อง ชื่อเดิม เนื่อง เถาสุวรรณ เกิดเมื่อวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๔๕๒ ปีระกา เป็นบุตร นายถมยา - นางตาบ เกิดที่บ้านคลองใหญ่ หมู่ที่ ๔ ต.แพรกหนามแดง อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม จบการศึกษาชั้นประถม ๔ จากโรงเรียนวัดบางกะพ้อม เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๓
    อุปสมบท เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๔๗๕ ณ อุโบสถวัดบางกะพ้อม ต.อัมพวา อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม โดยมี หลวงพ่อคง ธมฺมโชโต เจ้าอาวาสวัดบางกะพ้อม เป็นพระอุปัชฌาย์ หลวงพ่อแช่ม โสฬส เจ้าอาวาสวัดจุฬามณี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์ปล้อง วัดบางกะพ้อม เป็นอนุสาวนาจารย์
    [​IMG]
    การศึกษา ท่านสามารถสอบได้นักธรรมชั้นเอก สำนักเรียนวัดจุฬามณี เมื่อปี ๒๔๗๙ ขณะเดียวกันท่านก็มีความเชี่ยวชาญในทางวิปัสสนา และพุทธาคม เป็นอย่างมาก เนื่องด้วยท่านได้อาจารย์ดีเป็นเบื้องต้น ตั้งแต่อุปสมบท ประกอบกับความตั้งใจมั่นในการศึกษา และปฏิบัติอย่างเคร่งครัด โดยได้ศึกษาจาก หลวงพ่อคง วัดบางกะพ้อม พระเกจิอาจารย์ผู้โด่งดังของ จ.สมุทรสงคราม เจ้าของเหรียญ ๑ ใน ๕ ชุดเบญจภาคีเหรียญยอดนิยมของวงการพระเครื่องเมืองไทย
    นอกจากนี้หลวงพ่อเนื่อง ท่านยังได้เรียนวิชาอาคมต่างๆ จาก หลวงพ่อแช่ม เจ้าอาวาสวัดจุฬามณี และ หลวงปู่ใจ วัดเสด็จ ผู้สร้างตำนาน ตะกรุดลูกอม อันลือลั่น ไล่เรียงรายนามอาจารย์ของหลวงพ่อเนื่องแล้ว จึงไม่ต้องแปลกใจในความรู้ความสามารถ และความเข้มขลังในสายพุทธาคม ที่หลวงพ่อเนื่องท่านได้สืบทอดมาจากพระเกจิอาจารย์ผู้แก่กล้าสามารถหลายท่าน ด้วยกัน
    หลวงพ่อเนื่อง เป็นพระบริสุทธิสงฆ์ที่ชาวสมุทรสงคราม และจังหวัดใกล้เคียง มีความศรัทธาเลื่อมใสเป็นอันมาก รวมทั้งงานความสามารถในด้านงานพัฒนาสร้างสรรค์ความเจริญรุ่งเรืองมาสู่วัด จุฬามณี และชุมชนท้องถิ่น มาโดยตลอด จนทำให้ท่านได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ พระครูโกวิทสมุทรคุณ เมื่อปี ๒๔๙๖ และเลื่อนเป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสชั้นโท ฝ่ายวิปัสสนาคันธุระ เมื่อปี ๒๕๑๗ ในราชทินนามเดิม
    วัดจุฬามณี เป็นวัดโบราณ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นระหว่างปี ๒๑๗๒-๒๑๙๐ ในรัชสมัยพระเจ้าปราสาททอง เดิมชื่อ วัดแม่เจ้าทิพย์ เป็นวัดที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับราชวงศ์จักรี ฝ่ายราชนิกูล (ตระกูลบางช้าง) โดยเดิมกุฏิและอุโบสถ ล้วนสร้างจากไม้สัก ซึ่งย่อมผุพังและเสื่อมโทรมไปตามกาล ก็ได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ให้อยู่ในสภาพคงทนแข็งแรง และมีความสวยงามยิ่งขึ้น ก็ด้วยความสามารถของหลวงพ่อเนื่องอย่างแท้จริง
    วัดจุฬามณี มีเจ้าอาวาสปกครอง เท่าที่สืบได้ ดังนี้ ๑.พระอธิการยืน ๒.พระอธิการเนียม ๓.พระอาจารย์แป๊ะ ๔.พระอาจารย์ปาน ๕.หลวงพ่ออ่วม ๖.พระอาจารย์นุ่ม ๗.หลวงพ่อแช่ม ๘.หลวงพ่อเนื่อง โกวิโท และ ๗. พระครูโสภิตวิริยาภรณ์ (พระอาจารย์ อิฏฐ์ ภทฺทจาโร) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
    หลวงพ่อเนื่องได้ดูแลบูรณปฏิสังขรณ์วัดจุฬามณี จนเป็นวัดที่มีความเจริญรุ่งเรือง และมีความสมบูรณ์ในทุกด้าน โดยเฉพาะอุโบสถจตุรมุข หินอ่อน ๓ ชั้น กว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร สูง ๑๐ เมตร มูลค่าการก่อสร้างนับสิบล้านบาท ซึ่งได้วางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๑๑ โดย สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก (จวน อุฏฐายี) เสด็จทรงประกอบพิธี
    เมื่อต้นปี ๒๕๓๐ หลวงพ่อเนื่องเริ่มมีอาการอาพาธ จนกระทั่งในวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๐ เวลา ๐๖.๒๐ น. ท่านก็ได้ละสังขาร มรณภาพอย่างสงบ ที่โรงพยาบาลสมิติเวช สิริรวมอายุ 78 ปี 56 พรรษา ยังความโศกเศร้าเสียใจ แก่ศิษยานุศิษย์เป็นอันมาก ทิ้งไว้แต่หลักคำสอน วัตถุมงคล และผลงานการก่อสร้างวัดจุฬามณี ที่มีความสวยงาม และร่มรื่นจนทุกวันนี้
    <SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-1590357468802909";/* 300x250, ถูกสร้างขึ้นแล้ว 10/31/08 */google_ad_slot = "6005317840";google_ad_width = 300;google_ad_height = 250;//--></SCRIPT><SCRIPT type=text/javascript src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><INS style="BORDER-BOTTOM: medium none; POSITION: relative; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 300px; PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: inline-table; HEIGHT: 250px; VISIBILITY: visible; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0px"><INS style="BORDER-BOTTOM: medium none; POSITION: relative; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 300px; PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: block; HEIGHT: 250px; VISIBILITY: visible; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0px" id=google_ads_frame1_anchor></INS></INS>




    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT>
    <SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT>
    <SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT>
    <SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1233278097.jpg
      1233278097.jpg
      ขนาดไฟล์:
      8.7 KB
      เปิดดู:
      30
    • DSCF1510.jpg
      DSCF1510.jpg
      ขนาดไฟล์:
      167.2 KB
      เปิดดู:
      28
    • DSCF1511.jpg
      DSCF1511.jpg
      ขนาดไฟล์:
      184.4 KB
      เปิดดู:
      27
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2010
  19. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    บรมครูปู่ฤาษี
    ประวัติพระฤาษีพอสังเขป

    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left>ค้นๆเจอมาครับเลยเอามาฝากกัน
    เรื่องราวของพระฤาษี ในตำนานนั้นมีมากมายโดยเฉพาะในแถบสุวรรณภูมิเราที่ดูออกจะมีเรื่องเล่าเกี่ยวกับพระฤ าษีต่างๆไม่น้อย ทั้งที่เกี่ยวพันกับปรำปราพื้นบ้านที่เป็นผู้ประสิทธิประสาทความรู้ต่าง ๆ และบางครั้งยังนำมาเกี่ยวพันกับการสร้างเมืองหรืออาณาจักรสำคัญๆ อยู่หลายอาณาจักร ลักษณะ
    ฤาษีแบบไทยๆนั้นดูจะแตกต่างออกไปจากฤาษีอินเดีย ตั้งแต่การแต่งกาย ที่อินเดียนิยมนุ่งห่มผ้าย้อมสีแบบจีวรพระที่ถือเป็นสีนักบวชและไม่นิยมหนังสัตว์ที่ ถือว่าเป็นการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต จะมีฤาษีอินเดียในสายนับถือพระศิวะที่มีการนุ่งห่มหนังสัตว์ ซึ่งปัจจุบันไม่พบมากนัก ส่วนไทยเรานั้นกลับนุ่งห่มหนังเสือ ที่คล้ายกับได้รับวัฒนะธรรมมาจากนักบวชแถบเปอร์เชีย ตามภาพเขียนไทยสมัยโบราณ ถ้ามีภาพป่าหิมพานต์ ก็จะมีรูปวิทยาธรที่เป็นพวกแต่งกายคล้ายๆฤาษี เข้าคลอเคลีย ผลไม้ประหลาดที่ชื่อนารีผลซึ่งพวกนี้ไม่จัดเป็นฤาษีแท้ อินเดียจะเรียกนักสิทธิ เราก็เรียกว่า เป็นนักสิทธิวิทยาธร หรือฤาสิทธิวิทยาธรไปอันนี้เป็นความแตกต่างที่อาจสับสนได้

    นักบวชที่เรียกว่า “ฤาษี” จะเป็นพวกบำเพ็ญพรต ตบะอย่างยิ่งยวด ซึ่งผลที่ได้ตอบแทนประการหนึ่งคือการมีอิทธิฤทธิ์ที่นอกเหนือชนสามัญ ฤาษีจึงเป็นสัญลักษณ์ของความศักดิ์สิทธิ์ โดยจัดแบ่งฤาษีตามตบะออกเป็น ๓ ชั้นคือ
    พรหมฤาษี - ผู้ทีตบะเลิศ ข่มจิตนิวรณ์ได้บรรลุญาณชั้นสูง
    มหาฤาษี - ผู้มีตบะข่มกามคุณ
    ราชฤาษี - สำเร็จญาณสมาบัติชั้นต้น

    ซึ่งบรรดาฤาษีผู้สำเร็จที่ป รากฏในคำไหว้ครู ไทยนั้นมีหลายท่านแต่ที่ปรากฏเสมอๆมีอยู่สามตนคือ พระฤาษีนารอด พระฤาษีตาวัวและพระฤาษีตาไฟ ซึ่งทั้งสามท่านนี้จะเป็นที่รู้จักกันทั่วไปมาแต่โบราณ มีหลักฐานปรากฏในลานเงินลานทองที่ประจุไว้พร้อมพระพิมพ์โบราณที่กล่าวว่า “ตำบลเมืองพิษณุโลก เมืองกำแพงเพชร เมืองพิไชยสงคราม เมืองพิจิตร เมืองสุพรรณ ว่ายังมีฤาษี ๑๑ ตน ฤาษีเป็นใหญ่ ๓ ตนๆ หนึ่งฤาษี พิลาไลย ตนหนึ่งฤาษีตาไฟ ตนหนึ่งฤาษีตาวัว เป็นประธานแก่ฤาษีทั้งหลาย จึงปรึกษากันว่า เราท่านทั้งหลายนี้จะเอาอันใดให้แก่ พระยาศรีธรรมาโศกราช ฤาษีทั้งสามจึงว่า เราจะทำด้วยฤทธิ์ ทำด้วยเครื่องประดิษฐานเงินทองไว้ฉะนี้ ฉลองพระองค์ จึงทำเมฆพัตร อุทุมพร เป็นมฤตย์พิศม์ อายุวัฒนะ พระฤาษีประดิษฐานไว้ในถ้ำเหวใหญ่น้อยเป็นอานุภาพแก่มนุษย์ทั้งหลายสมณชีพราหมณ์เจ้าไ ปถ้วน ๕๐๐๐ พรรษาฤาษีองค์หนึ่งจึงว่าแก่ฤาษีทั้งปวงท่านจงไปเอาว่านอันมีฤทธิ์ เอามาสัก ๑๐๐๐ เก็บเอาเกษรไม้อันวิเศษ ที่มีกฤษณาเป็นอาทิ ให้ได้พัน ครั้นเสร็จแล้ว ฤาษีจึงป่าวร้องเทวดา ทั้งปวงให้ช่วยกันบดยา ทำเป็นพระพิมพ์ ไว้สถานหนึ่ง เมฆพัทรสถานหนึ่ง ฤาษีทั้งสามองค์ นั้นจึงบังคับฤาษีทั้งปวง ให้เอาว่านทำเป็นผง เป็นก้อน ประดิษฐานด้วยมนต์คาถาทั้งปวง ให้ประสิทธิคุณทุกอัน จึงให้ฤาษีทั้งนั้นเอาเกสร และว่าน มาประสมกันดีเป็นพระให้ประสิทธิแล้ว ด้วยเนาวหรคุณ ประดิษฐานไว้บนเจดีย์อันหนึ่งถ้าผู้ใดให้ถวายพระพรแล้วจึงเอาไว้ใช้ตามอานุภาพเถิด ให้ระลึกคุณฤาษีที่ทำไว้นั้นเถิด” ซึ่งข้อความตามลานทองจารึกก ารสร้างพระพิมพ์ อย่างเมืองกำแพงเพชร เมืองสุพรรณบุรีที่มีนัยทำนองนี้เป็นการแสดงความเชื่อถือคุณพระฤาษีโดยเฉพาะ ประธานฤาษีทั้งสามองค์นั้นได้อย่างดีสำหรับประวัติพระฤาษีตาไฟนั้นพอจะรวบรวมได้ว่าท ่านมีความสัมพันธ์กับพระฤาษีตาวัวมีเรื่องเล่าดังนี้ว่า ฤาษีตาวัวเดิมท่านเป็นสงฆ์ ตาบอดทั้งสองข้างแต่ชอบเล่นแร่แปรธาตุ จนสามารถทำปรอทแข็งได้ แต่ยังไม่ได้ทำให้เกิดประโยชน์อันใดคราวหนึ่งท่านไปถาน(ส้วม)แล้วเผอิญทำปรอทสำเร็จต กที่จะหยิบเอาก็มิได้ด้วยตามองไม่เห็น จึงเงียบไม่บอกใคร เลยแกล้งบอกให้ศิษย์ไปหาที่ถานว่าหากเห็นเรืองแสงเป็นสิ่งใดให้เก็บมาให้ ครั้นศิษย์กลั้นใจทำตามท่านดีใจนัก ได้ปรอทมา ก็ล้างให้สะอาดแล้วใส่โถน้ำผึ้ง เอาไว้ฉันเป็นยาไม่เอาติดตัวอีกเพราะเกรงหาย ต่อมาท่านรำพึงว่า เราจะมัวมานั่งตาบอดไปใย มีของดีวิเศษอยู่(ปรอทสำเร็จ) จึงให้ศิษย์ไปหาคนตายใหม่ๆ เพื่อควักลูกตาแต่ศิษย์หาศพคนตายไม่ได้ได้แต่พบวัวนอนตายอยู่เห็นเข้าทีดีจึงควักลูก ตาวัวมาแทนท่านจึงเอาปรอทแช่น้ำผึ้งมาคลึงที่ตา แล้วควักตาบอดออกเสีย เอาตาวัวใส่แทน แล้วเอาปรอทคลึงที่หนังตาด้วยฤทธิ์ปรอทสำเร็จไม่ช้าตาท่านที่บอดก็เห็นดีดังธรรมดา หลวงตาท่านนั้นจึงสึกจากพระมาถือบวชเป็นฤาษี และเรียกฤาษีตาวัวมาแต่บัดนั้นมาเรื่องเล่าท่านฤาษีตาไฟ ก็มีอยู่บ้างในตำนานเมืองศรีเทพที่ท่านโดนลูกศิษย์หักหลัง กล่าวคือ ท่านเล่าให้ลูกศิษย์ฟังถึงบ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ที่บ่อหนึ่งใครอาบก็ตาย บ่อหนึ่งคนตายอาบก็กลับเป็น ศิษย์นั้นไม่เชื่อ แล้วขอให้ท่านอาบให้ดูโดยสัญญาว่า เมื่อท่านอาบน้ำบ่อตายแล้วศิษย์จะจะนำน้ำบ่อเป็นมารดท่านให้กลับฟื้นแต่พอเอาเข้าจริ งท่านตายไปเพราะอาบน้ำบ่อตายศิษย์เนรคุณก็หนีไป ต่อมาท่านฤาษีตาวัวที่เป็นเพื่อนกันมาเยี่ยมเพราะไปมาหาสู่กันเสมอ เห็นท่านตาไฟหายไปก็ผิดสังเกตุ จึงออกตามหา พบบ่อน้ำตายนั้นเดือดก็รู้ว่ามีเหตุร้ายเกิดขึ้น เมื่อพบร่างท่านฤาษีตาไฟ จึงนำน้ำบ่อเป็นมารด ท่านตาไฟจึงฟื้นขึ้นมาเล่าเรื่องศิษย์เนรคุณให้ฟังและท่านตั้งใจจะแก้แค้นศิษย์ลูกเจ ้าเมืองที่ทรยศนั้น โดยท่านเนรมิตรวัวพยนต์ เอาพิษร้ายประจุไว้ แล้วปล่อยวัวพยนต์นั้นไป วิ่งรอบเมืองทั้งกลางวัวกลางคืน แต่เข้าเมืองไม่ได้เพราะศิษย์เจ้ากรรมนั้นปิดประตูเมืองไว้ พอวันที่เจ็ดวัวพยนต์ได้หายไป ชาวเมืองคิดว่าปลอดภัยจึงเปิดประตูเมืองวัวพยนต์คอยทีอยู่ปรากฏตัวขึ้นแล้ววิ่งเข้าใ นเมือง ระเบิดท้องตัวเองปล่อยพิษร้ายทำลายเมืองและผู้คนวอดวายไปสิ้น นับแต่นั้นมาเมืองนั้นที่ชื่อ“ศรีเทพ” ก็ร้างมาจนบัดนี้ อันนี้เป็นเรื่องเล่าที่ดูว่าท่านฤาษีตาไฟนี่คงดุไม่เบาเหมือนกัน ในทางการศึกษาเรื่องเวทมนต์อิทธิฤทธิ์นั้นต้องนับถือฤาษีตาไฟเป็นสำคัญ
    ปู่ฤาษีลงรักเก่าให้บูชา 450 บาท
    ปิดแล้วจ้า

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • GEDC0753.jpg
      GEDC0753.jpg
      ขนาดไฟล์:
      189.4 KB
      เปิดดู:
      33
    • GEDC0754.jpg
      GEDC0754.jpg
      ขนาดไฟล์:
      174.2 KB
      เปิดดู:
      33
    • GEDC0755.jpg
      GEDC0755.jpg
      ขนาดไฟล์:
      161.5 KB
      เปิดดู:
      32
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 กันยายน 2010
  20. siwa1968

    siwa1968 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,294
    ค่าพลัง:
    +540
    เศียรเทียนชัยปู่ฤาษีลงชาดแดงให้บูชา 350 บาทปิดแฮ๋มเมาะ
    *********************************************************
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • GEDC0701.jpg
      GEDC0701.jpg
      ขนาดไฟล์:
      182.2 KB
      เปิดดู:
      43
    • GEDC0699.jpg
      GEDC0699.jpg
      ขนาดไฟล์:
      186.7 KB
      เปิดดู:
      33
    • GEDC0700.jpg
      GEDC0700.jpg
      ขนาดไฟล์:
      195.8 KB
      เปิดดู:
      29
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 กันยายน 2010

แชร์หน้านี้

Loading...